ส่วนประกอบ PowerPoint

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ส่วนประกอบของหน้าต่างหลักในโปรแกรมPowerPoint มีดังนี้

1. ปุ่ม Office button คือ ปุ่นรวบรวมคำสั่งท่ใช้งานกับไฟล์งานทั้งหมดเช่นสร้าง ( New ) เปิด  ( Open ) และ  บันทึก ( Save )

  2. เป็นแท็บ (กำหนดแถบเครื่องมือด่วนเอง) เป็นแถบเครื่องมือที่จัดเก็บปุ่มคำสั่งที่ต้องการใช้งานด่วน เช่น Open, Save, Undo หรือ Redo เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้สามรถเพิ่มหรือลบปุ่มคำสั่งในส่วนนี้ได้

  3. Title bar (ชื่อหัวเรื่อง) เป็นแถบแสดงหัวเรื่องหรือชื่อไฟล์ที่เปิดขึ้นมาใช้งาน โดยแผ่นสไลด์ที่เปิดขึ้นมาใช้งานแผ่นแรกจะมีชื่อว่า Presentation1                                                  

  4. Ribbon ( ริบบอน ) ส่วนที่จัดเก็บแท็บคำสั่งและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สำหรับสร้างและออกแบบงานนำเสนอโดยแต่ละแท็บคำสั่งจะจัดเก็บชุด คำสั่งเรียงไว้เป็นกลุ่มๆ        

   5.  Normal View เป็นมุมมองการทำงานที่มีให้เลือกใช้งาน 2 รูปแบบ คือ แบบ Slides (ใช้สำหรับจัดวางและปรับแต่งองค์ประกอบบนแผ่นสไลด์)และแบบ Outline (ใช้สำหรับกำหนดและจัดลำดับหัวข้องานที่จะนำเสนอ) 

   6. พื้นที่สำหรับใช้ออกแบบและจัดวางองค์ประกอบต่างๆ บนแผ่นสไลด์

   7. Status bar แถบแสดงสถานการณ์ทำงาน

   8. View ส่วนที่ใช้สับเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแผ่นสไลด์

   9. Zoom Level เครื่องมือที่ใช้ย่อหรือขยายขนาดการแสดงผล

   4.1 แท็บเมนูแรกก็คือ การจัดหน้าต่างๆ เค้าโครง เป็นต้น ฯ

 4.2 แท็บเมนูแทรก คือ การใส่รูป ตาราง แผนภูมิ เป็นต้นฯ

     4.3 แท็บเมนูออกแบบ คือ การออกแบบพื้นหลังตามที่ต้องการ

     4.4 แท็บเมนูการเปลี่ยนโชว์สไลด์ คือ เลือกถาพสไลด์ในรูปแบบต่างๆ 

     4.5 แท็บเมนูภาพเคลื่อนไหว คือ การให้ภาพเปลี่ยนเป็นรูปแบบที่เราเลือก

  4.6 แท็บเมนูการนำเสนอภาพสไลด์ คือ 

      4.7 แท็บเมนูรีวิว คือ ภาษา แปล  

   4.8 แท็บมุมมอง คือ กำหนดไม้บรรทัด เส้นตาราง เส้นบอกแนว เป็นต้นฯ

ที่มา https://sites.google.com/a/pl-tech.ac.th/kar-chi-ngan-porkaerm-microsoft-powerpoint-2013/swn-prakxb

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาปี 2551

ตัวชี้วัดระหว่างทางและตัวชี้วัดปลายทาง ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี พ.ศ. 2551 ปรับปรุง 2560 แนวทางการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตัวชี้วัดระหว่างทาง ตัวชี้วัดปลายทางและเกณฑ์การตัดสินผลการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)...

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ร่างกายของเรา ป.6

ตอนที่ 1.1 สารอาหาร 1.1.1 ความหมายของอาหารและสารอาหาร 1.1.2 อาหารหลัก 5 หมู่ 1.1.3 ประโยชน์ของสารอาหาร 1.1.4 ธงโภชนาการ 1.1.5 การทดสอบสารอาหาร ตอนที่ 1.2 ระบบย่อยอาหาร 1.2.1 ความหมายและประเภทของระบบย่อยอาหาร 1.2.2 ระบบย่อยอาหารของคน 1.2.3 เคล็ดลับการกินเพื่อระบบย่อยอาหารที่ดี...

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง ไฟฟ้า

ตอนที่ 3.1 แรงในชีวิตประจำวัน 3.1.1 แรงไฟฟ้าและพลังงานไฟฟ้า ตอนที่ 3.2 พลังงานในชีวิตประจำวัน 3.2.1 การต่อวงจรไฟฟ้าอย่างง่าย 3.2.2 สัญลักษณ์ของส่วนประกอบต่าง ฯ ในการต่อวงจรไฟฟ้า 3.2.3 การต่อเซลล์ไฟฟ้า 3.2.4 ประโยชน์ของความรู้ของการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุกรมและแบบขนาน...

ทฤษฎีการใช้บัตรภาพ

ทฤษฎีการใช้บัตรภาพ (Picture Superiority Effect) เป็นหลักการทางจิตวิทยาที่กล่าวถึงความสามารถของความจำในการจดจำภาพถ่ายที่ดีกว่าการจดจำข้อความเปล่า ๆ หรือคำพูดเท่านั้น หลักการนี้เชื่อว่าความจำมีความแข็งแกร่งและยาวนานขึ้นเมื่อมีการใช้ภาพภายนอกเป็นส่วนประกอบ ตัวอย่างของทฤษฎีการใช้บัตรภาพเป็นไปได้ก็เช่นการใช้ Flashcards ที่มีภาพด้วยข้อความ แทนการใช้ Flashcards ที่มีเพียงข้อความเท่านั้น การมองภาพหรือสัมผัสภาพในบัตรภาพสามารถช่วยสร้างความสัมพันธ์ทางความจำได้ ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการจดจำและการเรียนรู้ การใช้บัตรภาพยังช่วยสร้างความสนุกสนานและน่าสนใจในกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งอาจกระตุ้นความสนใจและความตั้งใจในการเรียนรู้มากขึ้น นอกจากนี้การใช้ภาพยังช่วยให้การจดจำเป็นไปในลักษณะการเรียกขึ้นคืน (retrieval) ได้มากขึ้น ซึ่งเป็นกระบวนการสำคัญในการสร้างความรู้ที่ยั่งยืน อย่างไรก็ตาม...

About ครูออฟ 1525 Articles
https://www.kruaof.com