No Image

4.1.4 Animations

26 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

Animations คือ การสร้างลูกเล่นให้กับวัตถุที่ต้องการ เช่น Text (ข้อความ), Images (รูปภาพ), Charts (ตาราง) และ SmartArt ในการนำเสนอผ่านโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2016 ให้ Entrances (เข้า) หรือ Exits (ออก) จากสไลด์ (Slide) “นักเรียนคงเคยดูการ์ตูนแอนนิเมชัน และนักเรียนรู้หรือไม่ ว่าการ์ตูนแอนนิเมชัน มีขั้นตอนการทำอย่างไรบ้าง?” โปรแกรมนำเสนอ Microsoft PowerPoint 2016 สามารถสร้างงานนำเสนอให้อยู่ในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว เหมือนกับการ์ตูนแอนนิเมชันได้ Animations คือการสร้างลูกเล่น หรือ Animation effect [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การนำเสนอโปรแกรม (Program Present)

25 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การนำเสนอโปรแกรม (Program Present) คือ การนำเสนอเพื่อช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลที่จะต้องใช้กับโปรแกรม ตลอดจนผลลัพธ์ที่จะได้จากโปรแกรม การทำโปรแกรมทุกโปรแกรมจึงควรต้องทำเอกสารกำกับ เพื่อใช้สำหรับการอ้างอิงเมื่อจะใช้งานโปรแกรมและเมื่อต้องการแก้ไขปรับปรุง โปรแกรม เอกสารประกอบโปรแกรมที่จัดทำ “เมื่อนักเรียนต้องเล่นเกมหนึ่งเกม นักเรียนจะทราบได้อย่างไร ว่า เกมนั้น มีวิธีการเล่นอย่างไร” การนำเสนอโปรแกรม (Program Present) คือ การนำเสนอเพื่อช่วยให้ผู้ใช้โปรแกรมเข้าใจวัตถุประสงค์ ข้อมูลท [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

อัลกอริทึม (Algorithm)

23 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

อัลกอริทึม (Algorithm) คือ แนวคิดอย่างมีเหตุผลที่ผู้เขียนโปรแกรมใช้ในการอธิบายวิธีการอย่างเป็นขั้นตอน ตามลำดับในการที่จะพัฒนาโปรแกรมนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบขั้นตอนต่าง ๆ ในการทำงานและความถูกต้องในแต่ละขั้นตอน เป็นกระบวนการที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ในการเขียนอัลกอริทึม มีเครื่องมือช่วยในการเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) ที่นิยมใช้ 3 แบบ ครอบคลุม (1) บรรยาย (narrative description) (2) รหัสลำลอง (pseudo code) และ (3) ผังงาน (flowchart)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

วิทยาศาสตร์ ป.4 หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิต

12 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1. สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตบนโลกมีหลายชนิด มีขนาดใหญ่จนถึงขนาดเล็กที่ไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า แต่เราสามารถจำแนกสิ่งมีชีวิตเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 3 กลุ่ม ครอบคลุม (1) กลุ่มสัตว์ (2) กลุ่มพืช และ (3) กลุ่มที่ไม่ใช่สัตว์และพืช 1.1 กลุ่มสัตว์ การจำแนกสัตว์เป็นกลุ่มโดยใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลังซึ่งจะแบ่งสัตว์เป็น 2 กลุ่ม คือ 1. สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง และ 2. สัตว์มีกระดูกสันหลัง 1.2 กลุ่มพืช พืชสามารถจัดกลุ่มโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ได้หลายเกณฑ์ แต่ถ้าหากจัดกลุ่มพืชโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์จะจำแนกได้ 2 กลุ่ม ค [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

วิทยาศาสตร์ ป.4 หน่วยที่ 1 การเรียนรู้สิ่งต่างๆรอบตัว

12 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์คืออะไร กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง การแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่มีระเบียบ และเป็นขั้นตอนที่สามารถปฏิบัติตามได้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ได้แก่ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน มีด้วยกันอยู่ 8 ทักษะได้แก่

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

3.1.2 คำสั่งควบคุมการทำงานของบอร์ด KidsBright

27 ตุลาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

คำสั่งควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright ในรูปของบล็อก มีอยู่ 11 ส่วน ประกอบด้วย 1. พื้นฐาน (Basic Tab), 2. คณิตศาสตร์ (Math Tab), 3. ตรรกะ (Logic Tab), 4. วนรอบ (Loop Tab), 5. รอ (Wait Tab), 6. เสียงดนตรี (Music Tab),7. เซนเซอร์ (Sendor Tab), 8. เวลา (Real-Time Clock Tab), 9. ไอโอ (Comm Tab),10. ขั้นสูง (Advance Tab) และ 11. ไอโอที (Tab)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

3.1.1 รู้จักกับโปรแกรมสร้างชุดคำสั่ง KidBright

26 ตุลาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

โปรแกรมสร้างชุดคำสั่ง KidBright IDE เป็นโปรแกรมที่ใช้สร้างชุดคำสั่งโดยใช้ Block Based Programming ซึ่งสามารถลากบล็อกชุดคำสั่ง มาเรียงต่อกันเพื่อควบคุมให้บอร์ด KidBright ทำงานตามลำดับที่กำหนด จากนั้น KidBright IDE จะทำการ Compile ชุดคำสั่งเป็น Code ที่เหมาะสม และส่งไปยังบอร์ด เมื่อบอร์ดได้รับคำสั่งจะทำงานตามขั้นตอนที่ชุดคำสั่งกำหนดไว้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

2.1.4 เซนเซอร์และการใช้งาน

26 ตุลาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ในระบบสมองกลฝังตัว เซนเซอร์ คืออุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ตรวจวัดปริมาณทางกายภาพต่าง ๆ เช่น อุณหภูมิ แสง เสียง การสัมผัส เป็นต้น และแปลงเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าเพื่อใช้ตรวจสอบเงื่อนไขสำหรับการสั่งงานส่วนควบคุมแบบอัติโนมัติ หรือตรวจวัดข้อมูลต่าง ๆ สำหรับการเก็บบันทึกข้อมูล
สำหรับบอร์ด KidBright มีเซนเซอร์ที่ติดตั้งมาบนบอร์ดพร้อมใช้งาน ประกอบด้วย เซนเซอร์วัดระดับ
ความเข้มแสง เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ และสวิตช์กดติดปล่อยดับ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

2.1.3 หลักการทำงานของบอร์ด kidbright

26 ตุลาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

บอร์ด KidBright จะทำงานตามคำสั่งที่ผู้ใช้สร้างขึ้นผ่านโปรแกรมสร้างชุดคำสั่ง KidBright IDE โดยการ ลากและวาง (Drag and Drop) บล็อกคำสั่งที่ต้องการ จากนั้น KidBright IDE จะ Compile และส่งชุดคำสั่งดังกล่าวไปที่บอร์ด KidBright เพื่อให้บอร์ดทำงานตามคำสั่ง

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

2.1.2 การทำงานขององค์ประกอบต่างๆในบอร์ด KidBright

26 ตุลาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ ในบอร์ด KidBright ประกอบด้วย
1. เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ใช้วัดค่าอุณหภูมิที่อยู่รอบๆ บอร์ด KidBright
2. จอแสดงผล LED ใช้แสดงผลตัวอักษร ข้อความ หรือ รูปภาพ
3. เซนเซอร์วัดแสง ใช้วัดปริมาณแสงที่อยู่รอบ ๆ บอร์ด KidBright
4. ช่องเสียบสายไมโครยูเอสบี ใช้เป็นช่องรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า และรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
5. ลำโพง เป็นแหล่งกำเนิดเสียงให้กับบอร์ด KidBright
6. คอนเนกเตอร์ เป็นช่องทางในการเชื่อมต่อกับบอร์ดเสริมของ KidBright
7. พอร์ตยูเอสบี ใช้ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบยูเอสบี
8. สวิตช์ 1 ใช้ควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright
9. สวิตช์ 2 ใช้ควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright
10. สวิตช์รีเซ็ต ใช้รีเซ็ตเพื่อเริ่มต้นการทำงานใหม่ของบอร์ด
11. ช่องสัญญาณอินพุต 1-4 ใช้รับค่าสัญญาณอินพุตแบบดิจิทัลจากอุปกรณ์ภายนอกที่มาเชื่อมต่อ
12. ช่อสัญญาณเอาต์พุต 1-2 ใช้ส่งค่าเอาต์พุตแบบดิจิทัลจากบอร์ด KidBright ไปยังอุปกรณ์ภายนอกที่มาเชื่อมต่อ
13. นาฬิกาเรียลไทม์ ใช้เป็นอุปกรณ์บอกเวลาของบอร์ด KidBright ถ้าใส่แบตเตอรี่จะทำให้นาฬิกาเรียลไทม์เดินได้ตรงเวลา แม้ไม่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับบอร์ด KidBright
14. รางใส่แบตเตอรี่ ใส่แบตเตอรี่สำหรับเป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับนาฬิกาเรียลไทม์
15. ส่วนควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright บอร์ด KidBright ถูกควบคุมการทำงานโดยไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ซึ่งมีฟังก์ชันการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน Wifi และ Bluetooth

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :