2.1.2 การทำงานขององค์ประกอบต่างๆในบอร์ด KidBright

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

การทำงานขององค์ประกอบต่างๆ ในบอร์ด KidBright ประกอบด้วย

  1. เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ เซนเซอร์วัดอุณหภูมิ ใช้วัดค่าอุณหภูมิที่อยู่รอบๆ บอร์ด KidBright
  2. จอแสดงผล LED ใช้แสดงผลตัวอักษร ข้อความ หรือ รูปภาพ
  3. เซนเซอร์วัดแสง ใช้วัดปริมาณแสงที่อยู่รอบ ๆ บอร์ด KidBright
  4. ช่องเสียบสายไมโครยูเอสบี ใช้เป็นช่องรับกระแสไฟฟ้าจากแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้า และรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์
  5. ลำโพง เป็นแหล่งกำเนิดเสียงให้กับบอร์ด KidBright
  6. คอนเนกเตอร์ เป็นช่องทางในการเชื่อมต่อกับบอร์ดเสริมของ KidBright
  7. พอร์ตยูเอสบี ใช้ควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบยูเอสบี
  8. สวิตช์ 1 ใช้ควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright
  9. สวิตช์ 2 ใช้ควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright
  10. สวิตช์รีเซ็ต ใช้รีเซ็ตเพื่อเริ่มต้นการทำงานใหม่ของบอร์ด
  11. ช่องสัญญาณอินพุต 1-4 ใช้รับค่าสัญญาณอินพุตแบบดิจิทัลจากอุปกรณ์ภายนอกที่มาเชื่อมต่อ
  12. ช่อสัญญาณเอาต์พุต 1-2 ใช้ส่งค่าเอาต์พุตแบบดิจิทัลจากบอร์ด KidBright ไปยังอุปกรณ์ภายนอกที่มาเชื่อมต่อ
  13. นาฬิกาเรียลไทม์ ใช้เป็นอุปกรณ์บอกเวลาของบอร์ด KidBright ถ้าใส่แบตเตอรี่จะทำให้นาฬิกาเรียลไทม์เดินได้ตรงเวลา แม้ไม่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับบอร์ด KidBright
  14. รางใส่แบตเตอรี่ ใส่แบตเตอรี่สำหรับเป็นแหล่งจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับนาฬิกาเรียลไทม์
  15. ส่วนควบคุมการทำงานของบอร์ด KidBright บอร์ด KidBright ถูกควบคุมการทำงานโดยไมโครคอนโทรลเลอร์ ESP32 ซึ่งมีฟังก์ชันการเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตผ่าน Wifi และ Bluetooth

นักเรียนคิดว่า องค์ประกอบต่างๆ ที่อยู่บนบอร์ด KidBright ทำหน้าที่อย่างไรบ้าง?

บอร์ด KidBright รองรับการทำงานแบบ E-vent-Driven Programming และ Multitasking Programing ซึ่ง E-vent-Driven Programming คือ วิธีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ลำดับการทำงานของโปรแกรมกำหนดโดยเหตุการณ์ เช่น ทำงานเมื่อผู้ใช้กดปุ่ม และ E-vent-Driven Programming คือ วิธีการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้ทำงานแบบขนาน ทำให้สามารถทำงานได้มากกว่าหนึ่งงาน โดยไม่ต้องรอให้งานใดงานหนึ่งเสร็จก่อน

โดยสรุป การทำงานขององค์ประกอบต่าง ๆ ในบอร์ด KidBright ทำให้บอร์ด KidBright เป็น บอร์ดสมองกลฝังตัวที่อัจฉริยะ ที่สามารถนำไปพัฒนา สร้างสรรค์เป็นนวัตกรรมต่าง ๆ ได้มากมาย โดยบอร์ดถูกออกแบบให้มีจอแสดงผล และเซนเซอร์แบบง่าย และยังรองรับการเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์ (Internet of Things) สามารถใช้เป็นระบบควบคุมขนาดจิ๋วที่มีประสิทธิภาพได้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สีคู่ตรงข้าม ป.6

        สีคู่ตรงข้ามคือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ สีคู่ตรงข้ามทำให้ผู้ที่มองเห็นเกิดความรู้สึกขัดแย้งแต่วิธีการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมจะทำให้ผลงานทัศนศิลป์มีความโดดเด่นสวยงามและน่าสนใจ...

การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัลในสถานศึกษาและที่ทำงาน: การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อสร้างความสำเร็จ

การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล: โอกาสและความท้าทาย 1. การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการทำงานและการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ดีขึ้น 2. การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกฝนทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชันช่วยเสริมสร้างความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัลช่วยเพิ่มความเข้าใจและการสื่อสาร ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การให้ความรู้และการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัลช่วยเสริมความมั่นใจและความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน 4. การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถฝึกฝนและพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตช่วยสร้างความสนใจและความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้านดิจิทัลตลอดชีวิต 5. การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมช่วยเสริมสร้างความรู้สึกของความรับผิดชอบต่อสังคมและการช่วยเหลือผู้อื่น 6. การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชนช่วยสร้างโอกาสใหม่ๆ และเปิดโอกาสในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความต้องการในปัจจุบันและอนาคต FAQs (คำถามที่พบบ่อย) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมีผลกระทบอย่างไรต่อการเรียนรู้และการทำงาน?การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการเรียนรู้และการทำงาน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรที่จำเป็นได้ท ุกที่ทุกเวลา ทำไมการฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลถึงสำคัญ?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลช่วยเพิ่มความสามารถในการแก้ไขปัญหาและการทำงานในสถานการณ์ต่างๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญต่ออุตสาหกรรมในปัจจุบันหรือไม่?ใช่ เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญมากในอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยช่วยให้กระบวนการการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านช่องทางใดบ้าง?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านการเรียนออนไลน์...

Unleashing the Power of Digital Competencies in Education and the Workplace

Introduction: ในยุคดิจิทัลปัจจุบัน ความชำนาญในการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับความสำเร็จทั้งในด้านการศึกษาและการทำงาน บทความนี้จะสำรวจถึงความสำคัญของการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัลและผลกระทบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและองค์กร Understanding Digital Competencies Defining Digital Literacy การรู้ความสามารถทางดิจิทัลมีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเข้าถึง ประเมินและสร้างข้อมูล Navigating Digital Citizenship การเป็นพลเมืองดิจิทัลเกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือดิจิทัลอย่างรับผิดชอบและมีจริยธรรม เพื่อสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ปลอดภัยและเคารพหน้าที่ต่อสังคม Embracing Technological Fluency ความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีคือความเข้าใจลึกลับในระบบดิจิทัลและความสามารถในการปรับตัวกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง Fostering Information Literacy ความรู้ความสามารถทางข้อมูลเป็นการส่งให้ความรู้ให้กับบุคคลที่สามารถประเมินอย่างสำคัญและรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลดิจิทัล The Impact of Digital Competencies Empowering Learning...

ประสบการณ์การเตรียมตัวสอบ SAT จากนักเรียน

1. การเตรียมตัวสอบ SAT: ทักษะและเคล็ดลับที่สำคัญ เตรียมตัวสอบ SAT เป็นกระบวนการที่ต้องใช้เวลาและก้าวหน้าทางการเรียนรู้ เรียนรู้เคล็ดลับการเตรียมตัวสอบ SAT จากประสบการณ์ของนักเรียนที่ผ่านมา 2. สาระสำคัญในการเตรียมตัวสอบ SAT จากประสบการณ์ การวางแผนเวลาเรียนรู้และฝึกทักษะ การใช้เครื่องมือและทริคการเตรียมตัวสอบ SAT อย่างมีประสิทธิภาพ การรับฟังคำแนะนำและปรึกษาจากผู้ที่เคยสอบ SAT มาก่อน ความสำคัญของการเตรียมจิตใจและร่างกายในวันสอบ Meta Description:...

About ครูออฟ 1229 Articles
https://www.kruaof.com