สารอาหารกับการดำรงชีวิต

การปฏิสนธิ

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

           การปฏิสนธิของตัวอสุจิและไข่ของมนุษย์ เกิดบริเวณท่อนำไข่ หรือปีกมดลูก เกิดเป็นเซลล์ใหม่ 1 เซลล์ที่เรียกว่า ไซโกต ไซโกตมีการแบ่งเซลล์จาก 1 เซลล์ เป็น 2 เซลล์ และทวีคูณเรื่อย ๆ จนเกิดกลุ่มเซลล์ ระหว่างแบ่งเซลล์กลุ่มเซลล์เคลื่อนไปตามท่อนำไข่ แล้วฝังตัวที่ผนังมดลูก เรียกกลุ่มเซลล์ในระยะนี้ว่า เอ็มบริโอ เอ็มบริโอจะเจริญเติบโต และเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปตามอายุ โดยมีลำดับพัฒนาการเจริญของอวัยวะต่าง ๆ ดังภาพ  แม่ตั้งครรภ์ประมาณ 280 วัน นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย จากนั้นถึงกำหนดคลอด [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

ระบบสืบพันธุ์

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

   ก่อนที่ชายและหญิงจะย่างเข้าสู่วัยรุ่น ต่อมใต้สมองซึ่งอยู่ภายใต้ การควบคุมของสมองส่วนหน้า จะหลั่งฮอร์โมน กระตุ้นต่อมเพศในชาย และหญิงให้ผลิตฮอร์โมนเพศ ทำให้ร่างกายเปลี่ยนแปลงไปสู่ความเป็นหนุ่มเป็นสาว ต่อมเพศในผู้ชาย คือ อัณฑะ ส่วนต่อมเพศในผู้หญิง คือ รังไข่ ระบบสืบพันธุ์เพศชาย      ระบบสืบพันธุ์ของเพศชายประกอบด้วย1. อัณฑะ (testis) ทำหน้าที่สร้างเซลล์สืบพันธุ์ คือ ตัวอสุจิ และสร้างฮอร์โมนควบคุมลักษณะเพศชายอยู่ในถุงอัณฑะ2. หลอดเก็บตัวอสุจิ (epididymis) ทำหน้าที่เก็บตัวอสุจิ และเป็นที่พักของตัวอสุ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
สารอาหารกับการดำรงชีวิต

พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์ เป็นปฏิกิริยาอาการ ที่แสดงออกเพื่อการตอบโต้ ต่อสิ่งเร้า ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เช่น      – สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการทางเพศ      – สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้ำ การสัมผัส สารเคมี       กิริยาอาการที่แสดงออก เพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก อาศัยการทำงานที่ประสานกัน ระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบต่อมมีท่อ ดังตัวอย่างต่อไปนี้1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า   [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ระบบประสาท

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

  สิ่งมีชีวิตมีลักษะสำคัญ ได้แก่ มีการเคลื่อนที่ กินอาหาร หายใจ ขับถ่าย เจริญเติบโต สืบพันธุ์ และตอบสนองต่อสิ่งเร้า การทำงานของระบบต่าง ๆ ในร่างกายเพื่อตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น เรียกว่า ระบบประสาท     ระบบประสาทส่วนกลาง (the central nervous system หรือ somatic nervous system) เป็นศูนย์กลางการควบคุมการทำงานของร่างกาย ซึ่งทำงานพร้อมกันทั้งใน  ด้านกลไกและทางเคมีภายใต้อำนาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง โดยเส้นประสาทหลายเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแสประสาทออกจากบริเวณศูนย์กลาง มีอวัยวะที [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การกำจัดของเสียทางลำไส้

26 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

    อาหารที่เหลือจากการย่อยและดูดซึมแล้ว จะผ่านเข้าสู่ลำไส้ใหญ่ ซึ่งยาวประมาณ 1.50 เมตร ในลำไส้ใหญ่มีแบคทีเรียอยู่จำนวนมาก มีบางชนิดที่สังเคราะห์วิตามินเค และวิตามินบี 12 เซลล์ที่บุผนังลำไส้ใหญ่สามารถดูดน้ำ แร่ธาตุ วิตามิน ละกลูโคสจากกากอาหารเข้ากระแสเลือดซึ่งส่วนใหญ่เป็นน้ำ จึงทำให้กากอาหารข้นขึ้นจนเป็นก้อนกากอาหารจะผ่านไปถึงไส้ตรง ท้ายสุดของไส้ตรง คือ ทวารหนักซึ่งเป็นกล้ามเนื้อหูรูดแข็งแรงมาก ทำหน้าที่บีบตัวช่วยในการขับถ่ายอุจจาระ ดังภาพ การกำจัดของเสียทางปอด    ของเสียที่ถูกกำจ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทความสำคัญของสื่อใหม

23 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สื่อใหม่ถือเป็นสื่อสังคมออนไลน์ เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทางสังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใด ๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตซึ่งสื่อใหม่ก็มีข้อดีกว่ามากมาย ดังนี้ (พรจิต สมบัติพานิช, 2547:5) ในส่วนของบทบาทสื่อใหม่ เช่น เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ไลน์ ยูทูป เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวัน ซึ่งนอกจากจะเพิ่มความสะดวกในการติดต่อสื่อสารแล้ว ยังมีบทบาทในการกำหนดประเด็นต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม ดังนั้น สื่อใหม่ จึงมีบท [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
การตรวจสอบข่าวปลอม(Fake News)

การตรวจสอบข่าวปลอม(Fake News)

23 กรกฎาคม 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1. ที่มา / แหล่งอ้างอิง ใครเขียน ใครเผยแพร่ น่าเชื่อถือหรือไม่? สิ่งที่ที่เราต้องดูเลยก็คือ ข่าวนี้คนเขียนคือใคร เผยแพร่ทางไหน มีความรู้ความเชี่ยวชาญหรือความเกี่ยวข้องในด้านนั้นจริงหรือไม่ หรือเนื้อหาข่าวนั้นอ้างอิงจากเว็บหรือแหล่งที่น่าเชื่อถือหรือไม่ เพราะมีเว็บไซต์ที่ข้อมูลไม่น่าเชื่อถืออยู่มากมาย โดยเราสามารถดูข่าวจากหลายๆช่องทางประกอบกันได้ หากเป็นเรื่องที่มาจากองค์กรที่ชื่อไม่คุ้นเคย ควรตรวจสอบเพื่อความแน่ใจอีกครั้งหนึ่ง 2. หัวข้อข่าว / คำที่ใช้ ใส่อารมณ์เกินจริงเน้น “เรียกร้องความสน [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :