การทดสอบการศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 NT

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ด้านวิชาภาษาไทย

โครงสร้างแบบทดสอบความสามารถด้านภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563

โครงสร้างแบบทดสอบความสามารถด้านภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

วิเคราะห์ NT ภาษาไทย

วิเคราะห์ NT ภาษาไทย 3 ปี ย้อนหลัง
สาระ/ปีการศึกษา256325642565เฉลี่ยอันดับเร่ง
สาระที่ 1 การอ่าน42.3643.3346.7844.164
สาระที่ 2 การเขียน43.7543.3363.5450.215
สาระที่ 3 การฟังและการดู39.5833.3359.3844.103
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย37.4942.1845.3641.682
สาระที่ 5 วรรณคคีและวรรณกรรม21.8833.3351.5635.591

ด้านวิชาคณิตศาสตร์

โครงสร้างแบบทดสอบความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2563

โครงสร้างแบบทดสอบความสามารถด้านคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565

วิเคราะห์ NT คณิตศาสตร์

วิเคราะห์ NT คณิตศาสตร์ 3 ปี ย้อนหลัง
สาระ/ปีการศึกษา256325642565เฉลี่ยอันดับเร่ง
สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต29.5220.4060.3836.772
สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต39.0127.8052.1339.653
สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น36.1113.3360.4136.621

สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณิต

จำนวนและพีชคณิต ระบบจำนวนจริง  สมบัติเกี่ยวกับจำนวนจริง  อัตราส่วน  ร้อยละ  การประมาณค่า  การแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน การใช้จำนวนในชีวิตจริง แบบรูป ความสัมพันธ์ ฟังก์ชัน  เซต ตรรกศาสตร์  นิพจน์  เอกนาม  พหุนาม  สมการ  ระบบสมการ  อสมการ  กราฟ  ดอกเบี้ยและมูลค่าของเงิน  เมทริกซ์  จำนวนเชิงซ้อน  ลำดับและอนุกรม  และการนำความรู้เกี่ยวกับจำนวนและพีชคณิต  ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

สาระที่ 2  การวัดและเรขาคณิต

การวัดและเรขาคณิต ความยาว  ระยะทาง  น้ำหนัก  พื้นที่  ปริมาตรและความจุ  เงิน  และเวลา  หน่วยวัดระบบต่าง ๆ  การคาดคะเนเกี่ยวกับการวัด  อัตราส่วนตรีโกณมิติ  รูปเรขาคณิต และสมบัติของรูปเรขาคณิต  การนึกภาพ  แบบจำลองทางเรขาคณิต  ทฤษฎีบททางเรขาคณิต  การแปลงทางเรขาคณิตในเรื่องการเลื่อนขนาน  การสะท้อน  การหมุน  เรขาคณิตวิเคราะห์  เวกเตอร์ในสามมิติ  และการนำความรู้เกี่ยวกับการวัดและเรขาคณิตไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ

สาระที่ 3 สถิติและความน่าจะเป็น

สถิติและความน่าจะเป็น การตั้งคำถามทางสถิติ  การเก็บรวบรวมข้อมูล  การคำนวณค่าสถิติ  การนำเสนอและแปลผลสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ  หลักการนับเบื้องต้น  ความน่าจะเป็น การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม  การใช้ความรู้เกี่ยวกับสถิติและความน่าจะเป็นในการอธิบายเหตุการณ์ต่าง ๆ และช่วยในการตัดสินใจ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การบันทึกจราจรบนอินเตอร์เน็ต ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์

ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) และผู้ให้บริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) ไว้เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยทั่วไปคือไม่น้อยกว่า 90 วัน นับจากวันที่ข้อมูลนั้นถูกสร้างขึ้น เพื่อตรวจสอบและติดตามการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ได้ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ที่อยู่ IP,...

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต ในวิชานี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ: 1. เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก: เรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีแก้ปัญหา: วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อหาปัญหาที่ต้องการแก้ไข ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี นำความรู้ ทักษะ ทรัพยากร มาประยุกต์ใช้ เลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ กลไก ไฟฟ้า...

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1?

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1? วิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1 มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ การประเมินผล และจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สาระการเรียนรู้หลักๆ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. รู้จักเทคโนโลยีรอบตัว เทคโนโลยีคืออะไร? มีกี่ประเภท? เทคโนโลยีมีบทบาทอย่างไรในชีวิตประจำวัน? ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยอะไรบ้าง? ทำงานอย่างไร? วัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในงานออกแบบและเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง? กระบวนการทางเทคโนโลยีมีขั้นตอนอย่างไร? 2. ออกแบบสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี หลักการออกแบบที่ดีมีอะไรบ้าง?...

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังนี้: การออกแบบและเทคโนโลยี: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยี ขั้นตอนการออกแบบ กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี การสร้างชิ้นงาน: การวางแผนการสร้างชิ้นงาน การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน การนำเสนอและประเมินผล: การนำเสนอชิ้นงานและแนวคิดการออกแบบ การประเมินผลงานการออกแบบและการสร้างชิ้นงาน การรับฟังความคิดเห็นและการปรับปรุงแก้ไขผลงาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในการสร้างแบบจำลอง ความปลอดภัยในการทำงาน: ความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงาน วิธีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างปลอดภัย การปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาวิชานี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้....

About ครูออฟ 1264 Articles
https://www.kruaof.com