บทที่ 2 อุปกรณ์สำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Hardware)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

คอมพิวเตอร์ (Computer)

คอมพิวเตอร์ (Computer)
คอมพิวเตอร์ (Computer)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีเครื่องคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบพื้นฐาน คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายนั้น ไม่จำเป็นจะต้องเป็นรุ่นเดียวกัน หรือประเภทเดียวกัน คุณสามารถนำเอาคอมพิวเตอร์หลากหลายรุ่น หลากหลายประเภทมาเชื่อมต่อกันได้ ไม่ว่าจะเป็น เครื่องพีซี แมคอินทอช หรือยูนิกซ์เวิร์กสเตชัน โดยใช้คอนเน็กเตอร์ (Bridge) เป็นตัวเชื่อมระบบ ที่ต่างกันให้เป็นระบบเดียวกันได้ อกจากนั้นยังสามารถเชื่อมต่อเข้ากับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่น ๆ เช่น เครื่องพิมพ์ แฟกซ์ เทปแบ๊กอัป หรืออุปกรณ์เก็บข้อมูลอื่น ๆ และสามารถใช้งานอุปกรณ์ เหล่านี้ได้โดยเรียกผ่านคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้เอง เป็นการใช้ทรัพยากรในระบบเครือข่ายร่วมกัน ประเภทของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ที่มารูป:http://1.bp.blogspot.com/_lFRYIFlFjKY/S9RY7VBVwhI/
AAAAAAAAAA8/r3N5Ia3-EVc/s1600/computer.jpg

เซอร์เวอร์ (Server)

เซอร์เวอร์ (Server)
เซอร์เวอร์ (Server)

หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเครืองแม่ข่าย เป็นเครื่องคอมพิวเตอร์หลัก ในเครือข่าย ที่ทำหน้าที่จัดเก็บและให้บริการไฟล์ข้อมูลและ ทรัพยากรอื่นๆ กับคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ใน เครือข่าย โดยปกติคอมพิวเตอร์ที่นำมาใช้เป็นเซอร์เวอร์มักจะเป็นเครื่อง ที่มีสมรรถนะสูง และ มีฮาร์ดดิกส์ความจำสูงกว่าคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ ในเครือข่าย
ที่มารูป:http://www.pccns.in.th/php/unit1/u111-11.htm

ไคลเอนต์ (Client)

หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องลูกข่าย เป็นคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายที่ร้องขอ บริการและเข้าถึงไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บในเซอร์เวอร์ หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ ไคลเอนต์ เป็นคอมพิวเตอร์ ของผู้ใช้แต่ละคนในระบบเครือข่ายนั่นเอง

ฮับ (Hub)

ฮับ (Hub)
ฮับ (Hub)

เป็นอุปกรณ์ศูนย์กลาง ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์คอมพิวเตอร์อื่นๆ เข้าด้วยกัน
ที่มารูป: http://deklnwlnw.blogspot.com/2010/02/blog-post.html

บริดจ์(Bridge)

บริดจ์(Bridge)
บริดจ์(Bridge)

เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน (LAN Segments) เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะ ไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่าง กันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ TokenRing เป็นต้น บริดจ์ักจะถูกใช้ในการเชื่อมเครือข่ายย่อยๆ องค์กรเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ เพียงเครือข่ายเดียว เพื่อให้เครือข่ายย่อยๆ เหล่านั้น สามารถติด ต่อกับเครือข่าย ย่อยอื่นๆ ได้
ที่มารูป: http://somgolfmike.blogspot.com/

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สีคู่ตรงข้าม ป.6

        สีคู่ตรงข้ามคือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ สีคู่ตรงข้ามทำให้ผู้ที่มองเห็นเกิดความรู้สึกขัดแย้งแต่วิธีการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมจะทำให้ผลงานทัศนศิลป์มีความโดดเด่นสวยงามและน่าสนใจ...

ประวัติและความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์

จุดกำเนิด ปี 1955 ถือเป็นจุดกำเนิดของปัญญาประดิษฐ์อย่างเป็นทางการ โดย จอห์น แมคคาร์ธี ได้ใช้คำว่า "ปัญญาประดิษฐ์" เป็นครั้งแรก ในงานประชุมที่มหาวิทยาลัยดาร์ทมัธ ยุคแรก (1950 - 1970) มุ่งเน้นไปที่การจำลองการคิดแบบตรรกะของมนุษย์ มีการพัฒนาโปรแกรมที่สามารถเล่นเกม แก้ปัญหา และพิสูจน์ทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ ตัวอย่างที่โด่งดัง ได้แก่ โปรแกรม General Problem Solver...

ที่มาและความสำคัญ

ที่มาและความสำคัญของการวิจัยเรื่อง "การออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อสอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับเด็กประถมศึกษา" ที่มา 1. ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีส่งผลให้การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นทักษะที่จำเป็นในศตวรรษที่ 21 การปลูกฝังตั้งแต่วัยเด็กจะช่วยให้เด็กมีพื้นฐานที่ดีในการพัฒนาทักษะนี้ 2. การศึกษาหลายชิ้นพบว่า การเรียนรู้การเขียนโปรแกรมตั้งแต่เด็กจะช่วยส่งเสริมความคิดเชิงวิเคราะห์ ทักษะการแก้ปัญหา และความคิดสร้างสรรค์ 3. บทเรียนออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์สามารถทำให้เนื้อหาที่เป็นนามธรรมเข้าใจง่ายขึ้นสำหรับเด็ก โดยใช้สื่อมัลติมีเดีย เกม และกิจกรรมที่น่าสนใจ 4. การเรียนรู้ผ่านบทเรียนออนไลน์ช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ตามความสามารถและความสนใจของตน ความสำคัญ 1. ส่งเสริมให้เด็กได้เรียนรู้ทักษะการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นทักษะสำคัญในอนาคต ตั้งแต่วัยเยาว์ 2. บทเรียนออนไลน์ที่ออกแบบอย่างดีจะช่วยให้เด็กสนใจและเข้าใจการเขียนโปรแกรมซึ่งเป็นเนื้อหาที่ค่อนข้างยากสำหรับเด็กได้ง่ายขึ้น 3. ส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ความคิดสร้างสรรค์...

ความสนใจในหัวข้อ

หัวข้องานวิจัยที่ 1 "การออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อสอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับเด็กประถมศึกษา" เป็นหัวข้อที่น่าสนใจมาก เนื่องจากการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 และการปลูกฝังให้เด็กได้เรียนรู้ตั้งแต่เนิ่นๆ จะช่วยพัฒนาความคิดเชิงวิเคราะห์และแก้ปัญหางานวิจัยในหัวข้อนี้อาจประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. การศึกษาและทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับการสอนการเขียนโปรแกรมให้เด็ก แนวคิดการออกแบบบทเรียนออนไลน์ และทฤษฎีการเรียนรู้ที่เหมาะสม 2. การวิเคราะห์และกำหนดกลุ่มเป้าหมายเด็กประถมศึกษา เนื้อหา และจุดประสงค์การเรียนรู้ 3. การออกแบบสื่อและกิจกรรมปฏิสัมพันธ์ในบทเรียนออนไลน์ เช่น เกม สถานการณ์จำลอง วีดิโอ...

หัวข้องานวิจัย

สำหรับการพัฒนาบทเรียนออนไลน์วิทยาการคอมพิวเตอร์สำหรับเด็กประถมศึกษา หัวข้องานวิจัยที่น่าสนใจ ได้แก่ 1. การออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์เพื่อสอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นสำหรับเด็กประถมศึกษา 2. การศึกษาผลกระทบของบทเรียนออนไลน์ที่ใช้สื่อมัลติมีเดียและเกมต่อความสนใจในการเรียนรู้วิทยาการคอมพิวเตอร์ของเด็กประถมศึกษา 3. การพัฒนาบทเรียนออนไลน์โดยใช้เทคนิคนิทานดิจิทัลเพื่อสอนแนวคิดพื้นฐานของวิทยาการคอมพิวเตอร์สำหรับเด็กประถมศึกษาตอนต้น 4. การเปรียบเทียบประสิทธิผลของบทเรียนออนไลน์และการเรียนการสอนแบบปกติในการสอนหลักการทำงานของฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์สำหรับเด็กประถมศึกษา 5. การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือน (VR) ในบทเรียนออนไลน์เพื่อสอนความปลอดภัยในการใช้อินเทอร์เน็ตสำหรับเด็กประถมศึกษา 6. การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้จากบทเรียนออนไลน์แบบมีปฏิสัมพันธ์สำหรับรายวิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐานในระดับประถมศึกษา 7. การออกแบบและพัฒนาบทเรียนออนไลน์ที่ใช้เทคนิคเกมมิฟิเคชันเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้แนวคิดเชิงคำนวณสำหรับเด็กประถมศึกษา 8. การประเมินผลการใช้บทเรียนออนไลน์แบบร่วมมือในการสอนการคิดเชิงวิเคราะห์และการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์สำหรับเด็กประถมศึกษา เหล่านี้เป็นหัวข้อที่น่าสนใจ ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาบทเรียนออนไลน์ที่มีลักษณะเหมาะสมกับวัยและความสามารถของเด็กประถมศึกษา โดยใช้เทคนิคและสื่อการสอนที่น่าสนใจและเข้าใจง่าย...

About ครูออฟ 1190 Articles
https://www.kruaof.com