15. แถบเครื่องมือ Home หน้าแรก (9)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

VIEW (มุมมอง) 

รวมคำสั่งสำหรับเลือกมุมมองในการทำงานกับสไลด์ (คำสั่ง Presentation Views), การซ่อน/แสดงส่วนประกอบบนหน้าต่างโปรแกรม (กลุ่มคำสั่งShow/Hide), การย่อ / ขยายเอกสาร (กลุ่มคำสั่งZoom), การแสดงสไลด์เป็นสี/ขาวดำ (Color/Grayscale), จัดการหน้าจอการทำงาน (Window)และการสร้างคำสั่งการทำงาน (Macros)

23a

  • มุมมองการนำเสนอ

 23b

   มุมมอง Normal (ปกติ)  

23c

    มุมมอง Normal (ปกติ)  เป็นมุมมองพื้นฐานในการทำงานบน Power Point ซึ่งเมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาก็จะแสดงมุมนี้ก่อนเสมอ โดยจะประกอบด้วยหน้าต่าง Slides ทางด้านซ้ายและหน้าต่างหลักแสดงผ่านแผ่นสไลด์

23d

                         มุมมอง Outline View (เค้าร่าง) 

23e

มุมมอง Outline View (เค้าร่าง)  แสดงเนื้อหาในการนำเสนอที่อยู่บนสไลด์แต่ละแผ่น โดยมีการจัดลำดับขั้นของเนื้อหาอย่างเป็นระบบ ซึ่งเราสามารถเพิ่ม / ลบเนื้อหา หรือจัดลำดับขั้นของเนื้อหาบนสไลด์ได้อย่างรวดเร็ว

23f

             มุมมอง Slide Sorter (ตัวเรียงลำดับสไลด์)

23g

มุมมอง Slide Sorter (ตัวเรียงลำดับสไลด์)     เป็นมุมมองที่แสดงสไลด์ทั้งหมดในงานพรีเซนเตชั่น โดยเรียงกันตามลำดับตั้งแต่สไลด์แผ่นแรกจนถึงแผ่นสุดท้ายทำให้เรามองเห็นสไลด์ได้พร้อมกันและช่วยในการจัดเรียงลำดับการเพิ่ม-ลบแผ่นสไลด์

23h

                       

                        มุมมอง Note Page (หน้าบันทึกย่อ)

23i

                        มุมมอง Note Page (หน้าบันทึกย่อ)    แสดงสไลด์พร้อมกับหน้าต่างบันทึกย่อ โดยผู้ออกแบบสไลด์สามารถเขียนข้อความลงในส่วนนี้ เช่น จุดประสงค์ หรือประเด็นหลักของสไลด์ หรือข้อมูลเพิ่มเติมที่จะใช้บรรยายระหว่างแสดงสไลด์แผ่นนี้เป็นต้น

23j

 

                        มุมมอง Reading View (การอ่าน)

23k

มุมมอง Reading View (การอ่าน) ผู้ใช้สามารถเลือกมุมมองนี้ เพื่ออ่านงานพรีเซนเตชั่นเหมือนกับการอ่านหนังสือโดยซ่อนเครื่องมือต่างๆ ของโปรแกรมไว้และที่แถบด้านล่างจะมีปุ่มคำสั่งสำหรับเลื่อนหน้าคล้ายกับหนังสือ

23l

  • ย่อ/ขยาย

 

บนแท็บมุมมอง ในกลุ่มการย่อ/ขยาย คลิก Fit to Window ซึ่งเปลี่ยนแปลงสไลด์ปัจจุบันกับขนาดของหน้าต่าง PowerPoint

หมายเหตุ: นอกจากนี้ยังไม่มีปุ่มจัดพอดีกับหน้าต่าง ใกล้ตัวเลื่อนย่อ/ขยายบนแถบสถานะ

23m

ในแท็บ มุมมอง ในกลุ่ม ย่อ/ขยาย ให้คลิก Zoom แล้วใส่เปอร์เซ็นต์หรือเลือกการตั้งค่าอื่นๆ ที่ต้องการ

23n

23o

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การบันทึกจราจรบนอินเตอร์เน็ต ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์

ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) และผู้ให้บริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) ไว้เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยทั่วไปคือไม่น้อยกว่า 90 วัน นับจากวันที่ข้อมูลนั้นถูกสร้างขึ้น เพื่อตรวจสอบและติดตามการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ได้ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ที่อยู่ IP,...

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต ในวิชานี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ: 1. เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก: เรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีแก้ปัญหา: วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อหาปัญหาที่ต้องการแก้ไข ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี นำความรู้ ทักษะ ทรัพยากร มาประยุกต์ใช้ เลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ กลไก ไฟฟ้า...

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1?

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1? วิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1 มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ การประเมินผล และจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สาระการเรียนรู้หลักๆ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. รู้จักเทคโนโลยีรอบตัว เทคโนโลยีคืออะไร? มีกี่ประเภท? เทคโนโลยีมีบทบาทอย่างไรในชีวิตประจำวัน? ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยอะไรบ้าง? ทำงานอย่างไร? วัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในงานออกแบบและเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง? กระบวนการทางเทคโนโลยีมีขั้นตอนอย่างไร? 2. ออกแบบสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี หลักการออกแบบที่ดีมีอะไรบ้าง?...

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังนี้: การออกแบบและเทคโนโลยี: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยี ขั้นตอนการออกแบบ กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี การสร้างชิ้นงาน: การวางแผนการสร้างชิ้นงาน การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน การนำเสนอและประเมินผล: การนำเสนอชิ้นงานและแนวคิดการออกแบบ การประเมินผลงานการออกแบบและการสร้างชิ้นงาน การรับฟังความคิดเห็นและการปรับปรุงแก้ไขผลงาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในการสร้างแบบจำลอง ความปลอดภัยในการทำงาน: ความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงาน วิธีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างปลอดภัย การปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาวิชานี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้....

About ครูออฟ 1264 Articles
https://www.kruaof.com