ระบบย่อยอาหาร ป.5

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

เมื่อนักเรียนศึกษาเรื่อง “ระบบย่อยอาหาร” แล้ว นักเรียนสามารถบอกได้ว่า

ระบบย่อยอาหาร เป็นระบบที่เปลี่ยนอาหารที่รับประทานให้เป็นสารอาหารที่ทำให้ร่างกายดูดซึมได้ง่าย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตเหมาะสมกับวัย สุขภาพร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์

สาระการเรียนรู้

ความหมายและอวัยวะที่สำคัญของระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหารหรือระบบทางเดินอาหาร หมายถึง ขบวนการแปรสภาพอาหารให้มีขนาดเล็กลง เพื่อการดูดซึมเข้าสู่เซลล์

อวัยวะสำคัญในระบบย่อยอาหาร
รูปที่ 1 อวัยวะสำคัญในระบบย่อยอาหาร
อวัยวะหน้าที่
ฟัน ช่วยบดเคี้ยวอาหาร โดยมีลิ้นช่วยคลุกเคล้าอาหารและมีน้ำลายช่วยย่อยอาหารจำพวกแป้ง
หลอดอาหารเป็นทางผ่านของอาหาร ที่ถูกบดเคี้ยวแล้วกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร
ตับสร้างน้ำย่อย เก็บไว้ที่ถุงน้ำดี
กระเพาะอาหารรับอาหาร จากหลอดอาหาร
ลำไส้เล็กย่อยอาหาร และดูดซึมสารอาหาร และน้ำ เพื่อนำไปใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกาย
ลำไส้ใหญ่ดูดซึมน้ำ และเกลือแร่ ออกจากกากอาหาร แล้วขับเมือกออกมา หล่อลื่นให้กากอาหารที่แข็งเคลื่อนที่ผ่านไปสู่ปลายลำไส้ใหญ่ซึ่งเป็นส่วนที่สะสมอุจจาระ
ทวารหนัก เป็นทางระบายอุจจาระ
ตารางการทำงานของอวัยวะในระบบย่อยอาหาร

การทำงานของระบบย่อยอาหาร

  1. อาหารถูกย่อยที่ปากโดยการเคี้ยวและมีน้ำลายออกมาช่วยย่อย
  2. อาหารถูกกลืนลงสู่กระเพาะอาหาร และถูกย่อยโดยน้ำย่อย
  3. อาหารส่งไปยังลำไส้เล็กและถูกย่อยโดยน้ำย่อย สารอาหารที่ผ่านการย่อยแล้ว จะถูกดูดซึมผ่านผนังลำไส้เล็กเพื่อนำไปใช้ในการเจริญเติบโตของร่างกาย
  4. กากอาหารขับเคลื่อนไปยังลำไส้ใหญ่ เพื่อดูดซึมน้ำวิตามินและแร่ธาตุเข้าสู่ร่างกาย
  5. กากอาหารส่วนที่เหลือจะถูกขับออกมานอกร่างกายผ่านทางระบบขับถ่ายเป็นอุจจาระ

ความสำคัญของระบบย่อยอาหาร

ระบบย่อยอาหาร เป็นระบบที่เปลี่ยนอาหารที่รับประทานให้เป็นสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของร่างกาย ส่งผลให้มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสติปัญญาเป็นไปตามวัย ซึ่งหากระบบย่อยอาหารไม่สามารถทำงานได้ตามปกติจะทำให้เจ็บป่วยร่างกายอ่อนแอการเจริญเติบโตและพัฒนาการผิดปกติ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต ในวิชานี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ: 1. เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก: เรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีแก้ปัญหา: วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อหาปัญหาที่ต้องการแก้ไข ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี นำความรู้ ทักษะ ทรัพยากร มาประยุกต์ใช้ เลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ กลไก ไฟฟ้า...

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1?

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1? วิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1 มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ การประเมินผล และจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สาระการเรียนรู้หลักๆ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. รู้จักเทคโนโลยีรอบตัว เทคโนโลยีคืออะไร? มีกี่ประเภท? เทคโนโลยีมีบทบาทอย่างไรในชีวิตประจำวัน? ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยอะไรบ้าง? ทำงานอย่างไร? วัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในงานออกแบบและเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง? กระบวนการทางเทคโนโลยีมีขั้นตอนอย่างไร? 2. ออกแบบสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี หลักการออกแบบที่ดีมีอะไรบ้าง?...

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังนี้: การออกแบบและเทคโนโลยี: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยี ขั้นตอนการออกแบบ กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี การสร้างชิ้นงาน: การวางแผนการสร้างชิ้นงาน การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน การนำเสนอและประเมินผล: การนำเสนอชิ้นงานและแนวคิดการออกแบบ การประเมินผลงานการออกแบบและการสร้างชิ้นงาน การรับฟังความคิดเห็นและการปรับปรุงแก้ไขผลงาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในการสร้างแบบจำลอง ความปลอดภัยในการทำงาน: ความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงาน วิธีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างปลอดภัย การปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาวิชานี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้....

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี ความหมายและประเภทของเทคโนโลยี: นักเรียนจะได้เรียนรู้ความหมายและประเภทต่างๆ ของเทคโนโลยี เข้าใจถึงบทบาทและความสำคัญของเทคโนโลยีที่มีต่อชีวิตมนุษย์ ระบบเทคโนโลยี: นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบและหลักการทำงานของระบบเทคโนโลยี เข้าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ของระบบ วัสดุและเครื่องมือ: นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับวัสดุและเครื่องมือที่ใช้ในงานออกแบบและเทคโนโลยี เข้าใจถึงคุณสมบัติและการใช้งานของวัสดุและเครื่องมือต่างๆ กระบวนการทางเทคโนโลยี: นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับกระบวนการทางเทคโนโลยีต่างๆ เข้าใจถึงขั้นตอนและเทคนิคที่ใช้ในการผลิตสินค้าและบริการ 2. การออกแบบผลิตภัณฑ์ทางเทคโนโลยี หลักการออกแบบ: นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบที่สำคัญ...

About ครูออฟ 1263 Articles
https://www.kruaof.com

Be the first to comment

Leave a Reply

Your email address will not be published.