24. การตัดภาพให้เหลือเฉพาะส่วนที่ต้องการ

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เลือกภาพทีjต้องการบีบอัด คลิก   (บีบอัดรูปภาพ) 3. กำหนดตัวเลือกการบีบอัด 4. เลือกคุณภาพของภาพหลังบีบอัด 5. คลิก OK เพื่อบีบอัด การเปลี่ยนสีและรูปแบบเส้นกรอบภาพ หากต้องการตกแต่งหรือปรับเปลี่ยนรูปแบบต่างๆ ให้กับเส้นกรอบของภาพที่เลือกไว้ให้คลิกเลือกที่คำสั่ง    (เส้นขอบรูป) ได้ ดังนี้ จะปรากฏภาพที่เสร็จสมบูรณ์

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

23. การปรับแต่งรูปภาพ

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ภาพที่นำมาตกแต่งสไลด์นั้น อาจจะต้องมีการปรับแต่งสี ความคมชัด และเพิ่มเติมเอฟเฟ็กต์ต่างๆ เพื่อให้สอดคล้องกับสไลด์ โดยเมื่อคลิกเลือกภาพที่ต้องการปรับแต่งก็จะปรากฏแถบเครื่องมือ Picture Tools สำหรับปรับแต่งภาพเพิ่มเติมอยู่ในแถบ Ribbon ปรับความคมชัด และความสว่างของภาพ การปรับความคมชัด ความสว่างของภาพ เพื่อให้ดูสอดคล้องกับองค์ประกอบอื่นๆ บนสไลด์ทำได้โดยคลิก  (การแก้ไข) และเลือกภาพในส่วน Sharpen/Soften (การทำให้คนชัดขึ้น/นุ่มลง)เพื่อปรับความคมชัดและความนุ่มของภาพหรือส่วน Brightness/Contrast (ความสว่าง/ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

22. การแทรกภาพออนไลน์

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

นอกจากภาพบนเครื่องแล้ว ยังสามารถเลือกภาพหรือคลิปอาร์ตจากอินเตอร์เน็ตก็ได้ โดยเลือกค้นหาจากเว็บ Office.com , Bing หรือบน One Drive และโหลดมาแทรกลงไปบนสไลด์ได้ทันที การแทรกภาพออนไลน์ ทำได้โดยใช้ปุ่มคำสั่ง     Online Picture (รูปภาพออนไลน์) ในแท็บINSERT(แทรก)  มีวิธีการดังนี้ คลิกแท็บ INSERT เลือกปุ่ม Online Picture จะปราก กล่องโต้ตอบค้นหาขึ้นมา เลือก Bing หรือ One Drive ค้นหารูปภาพ ในตัวอย่างจะใช้ Bing ค้นหารูปภาพ 4. พิมพ์คำที่ต้องการค้นหา > ผลการค้นหาจะปรากฏขึ้นมา 5. เลือกภาพที่ต้องการจากนั้นค [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

21. การแทรกภาพจากไฟล์

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

เป็นการนำไฟล์ภาพถ่าย หรือไฟล์ที่เราเก็บไว้ในเครื่องมาใช้ตกแต่งสไลด์ ทำได้โดยใช้ปุ่มคำสั่ง  Picture (รูปภาพ) ในแท็บ INSERT(แทรก)  มีวิธีการดังนี้ คลิกแท็บ INSERT เลือกปุ่ม Picture  จะปรากฏ หน้าค้นหาและเลือกไฟล์ภาพที่ต้องการ > คลิกแทรก 3. รูปภาพที่เลือกจะปรากฏบนสไลด์ นอกจากนี้ยังสามารถคลิก แทรกรูปภาพ ที่เค้าโครงสไลด์ได้อีกด้วย

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

20. การกำหนดพื้นหลังสไลด์

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

นอกจากการกำหนดรูปแบบข้อความแล้ว ยังสามารถกำหนดสีพื้นสไลด์ให้สวยงามได้ตามต้องการ โดยมีวิธีการดังนี้ คลิก แท็บ DESIGN (ออกแบบ) > คลิก ปุ่ม Background Styles (ลักษณะพื้นหลัง) เลือกคำสั่ง Format Background (จัดรูปแบบพื้นหลัง) 3. คลิก Fill (เติม) > กำหนดรูปแบบและสีพื้นหลังตามต้องการ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

19. การกำหนดสัญลักษณ์และหมายเลขหัวข้อ

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

หากต้องการใส่หมายเลขลำดับ หรือสัญลักษณ์(Bullet) เพื่อเน้นหัวข้อที่น่าสนใจ ก็สามารถทำได้ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้ การกำหนดสัญลักษณ์หน้าหัวข้อ คลิกที่หัวข้อ หรือกล่องข้อความที่ต้องการใส่สัญลักษณ์หน้าหัวข้อ คลิก แท็บHOME(หน้าแรก) > คลิก ลูกศรท้ายปุ่ม > เลือกสัญลักษณ์ที่ต้องการ การกำหนดหมายเลขหน้าหัวข้อ คลิกที่หัวข้อ หรือกล่องข้อความที่ต้องการใส่สัญลักษณ์หน้าหัวข้อ คลิก แท็บHOME(หน้าแรก) > คลิก ลูกศรท้ายปุ่ม  เลือกรูปแบบหมายเลขที่ต้องการ

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

18. การกำหนดรูปแบบตัวอักษร

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สามารถกำหนดรูปแบบตัวอักษรให้สวยงาม เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้กับงานนำเสนอได้ ด้วยการใช้เครื่องมือในกลุ่มคำสั่ง Font (แบบอักษร) ที่อยู่ในแท็บ Home (หน้าแรก)   โดยการกำหนดรูปแบบตัวอักษร มีวิธีการดังนี้ เลือกข้อความ หรือกล่องข้อความที่ต้องการกำหนดรูปแบบตัวอักษร คลิก แท็บ HOME > คลิกเครื่องมือสำหรับการกำหนดรูปแบบตัวอักษรตามต้องการ การจัดตำแหน่งข้อความและย่อหน้า หลังจากพิมพ์ข้อความเสร็จแล้ว เราควรจัดตำแหน่งข้อความ และย่อหน้าให้เหมาะสมเพื่อความสวยงามเป็นระเบียบ โดยเครื่องมือสำหรับจัดตำแหน่งข้อคว [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

17. การปรับแต่ง WordArt (อักษรศิลป์)

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

 เลือก กล่องข้อความ หรือ เลือกข้อความบางส่วน ภายในของกล่องข้อความ จะปรากฏแท็บ Format ขึ้นมา  ในแท็บ Format คลิก Text Effects ใน WordArt Styles  จะปรากฏแทบเมนูแบบเลื่อนลง แสดงลักษณะ Effect ต่างๆ > คลิกเลือกลักษณะ Effect ที่ต้องการ 4. นำไปใช้กับข้อความ                  นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ Text Fill (สีข้อความ)  Text Outline (เส้นกรอบข้อความ)ในการปรับเปลี่ยนสีของข้อความ  

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

16. การสร้างข้อความ

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

1. การสร้างข้อความโดยการใช้ Placeholder (กรอบเค้าโครง) เป็นข้อความเค้าโครงเรื่องของเนื้อหา ซึ่งเกิดจากการสร้างเค้าโครงใน Outline หรือ การสร้างข้อความจากเค้าร่างที่โปรแกรมมีเป็นเลย์เอาต์มาให้ คลิกภายในกรอบข้อความบนเค้าโครงสไลด์ พิมพ์ข้อความตามต้องการ 2.การสร้างข้อความโดยการใช้ Text box (กล่องข้อความ) เป็นข้อความที่เราต้องการใส่เพิ่มเติมลงไปในสไลด์ โดยจะไม่มีผลต่อโครงเรื่องใน Outline   มีขั้นตอนการสร้างดังนี้ คลิกแท็บ INSERT เลือกปุ่ม Text box คลิกค้างไว้และลากเพื่อวาดกล่องข้อความบนภาพนิ่ง   [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

15. แถบเครื่องมือ Home หน้าแรก (9)

6 มิถุนายน 2018 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

VIEW (มุมมอง)  รวมคำสั่งสำหรับเลือกมุมมองในการทำงานกับสไลด์ (คำสั่ง Presentation Views), การซ่อน/แสดงส่วนประกอบบนหน้าต่างโปรแกรม (กลุ่มคำสั่งShow/Hide), การย่อ / ขยายเอกสาร (กลุ่มคำสั่งZoom), การแสดงสไลด์เป็นสี/ขาวดำ (Color/Grayscale), จัดการหน้าจอการทำงาน (Window)และการสร้างคำสั่งการทำงาน (Macros) มุมมองการนำเสนอ      มุมมอง Normal (ปกติ)       มุมมอง Normal (ปกติ)  เป็นมุมมองพื้นฐานในการทำงานบน Power Point ซึ่งเมื่อเปิดโปรแกรมขึ้นมาก็จะแสดงมุมนี้ก่อนเสมอ โดยจะประกอบด้วยหน้าต่าง Slides ทางด้านซ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :