วิธีการแก้ไขปัญหา ป.5

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ปัญหาบางปัญหาที่ซับซ้อนมากขึ้นเราอาจต้องวางแผนการแก้ปัญหาบางปัญหาอาจมีวิธีแก้ได้หลายวิธี การวางแผนการแก้ปัญหาจะต้องพิจารณาด้วยเหตุผลต่างๆ ให้ครบทุกกรณีที่อาจเป็นไปได้
การใช้เหตุผล (reasoning) เป็นการคิดและอธิบายความคิดออกมาเป็นแผนงาน โดยแสดงวิธีการแก้ปัญหาออกมาเป็นลำดับขั้นตอน ทำให้มองเห็นวิธีการแก้ปัญหาได้อย่างชัดเจน ในแต่ละขั้นตอนต้องพิจารณาเงื่อนไขหรือเหตุผลประกอบด้วย การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหาทำได้โดยการเขียนบอกเล่า วาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์

ตัวอย่าง การอาบน้ำในฤดูหนาวอย่างไรไม่ให้หนาว
เริ่มต้น
1. ต้มน้ำร้อน
2. นำน้ำร้อนที่ต้มเสร็จไปผสมกับน้ำที่อุณหภูมิปกติตามความเหมาะสม
3. อาบน้ำ
4. เช็ดตัวให้แห้ง แล้วใส่เสื้อผ้า
จบ

แต่ละบุคคลอาจมีวิธีการแก้ปัญหาเหมือนกันหรืออาจแตกต่างกันขึ้นกับความรู้ความสามารถและประสบการณ์ของแต่ละบุคคล แต่หากพิจารณาให้ละเอียด จะพบว่าการแก้ปัญหามีหลักการและกระบวนการที่คล้ายกัน หลักการแก้ปัญหาโดยทั่วไปมีกระบวนการ ดังนี้

1. การพิจารณาปัญหา คือ การทำความเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นอย่าง
ละเอียด แล้วพิจารณาว่ามีองค์ประกอบอะไรบ้าง เช่น ปัญหานี้เกิดจากอะไรปัญหานี้มีผลต่อใคร ผลที่เกิดจากปัญหาคืออะไร สิ่งที่ต้องการแก้ปัญหาคืออะไร

2. การวางแผนแก้ปัญหา คือ การกำหนดขั้นตอน วิธีการ อุปกรณ์
เครื่องมือ และระยะเวลาที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อให้ผู้แก้ปัญหาเข้าใจตรงกันและปฏิบัติไปในแนวทางเดียวกัน อาจแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา โดยการบอกเล่าเป็นข้อความ การวาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์

ตัวอย่าง ปัญหาเกี่ยวกับการจัดลำดับการทำงานบ้านในช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมานักเรียนต้องไปโรงเรียน อาจมีการบ้านและงานส่วนตัวต้องทำในวันหยุดซึ่งมีเพียงสองวัน ดังนั้นนักเรียนจะต้องวางแผนจัดลำดับการทำงานให้เหมาะสมและคุ้มค่ากับเวลาถ้าวันหยุดนักเรียนต้องซักผ้าและทำการบ้าน หากนักเรียนตื่นแต่เช้าแล้วซักผ้า แต่วันนั้นฝนตก จะทำให้นักเรียนเสียเวลาในการซักผ้าดังนั้นเราอาจวางแผนลำดับขั้นตอนโดยเพิ่มเงื่อนไข ดังนี้

เริ่มต้น
1. ฝนตกหรือไม่
2. ถ้าฝนตกจริง ทำการบ้านก่อน แล้วจึงซักผ้าและนำไปตาก
3. ถ้าฝนไม่ตก ซักผ้าแล้วตาก จากนั้นจึงทำการบ้าน
จบ

สำหรับการแสดงขั้นตอนโดยใช้สัญลักษณ์จะต้องเลือกใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น

หมายถึง การเริ่มต้นหรือจบ

หมายถึง การตัดสินใจ

หมายถึง การทำงานหรือกระบวนการ

หมายถึง จุดเชื่อมต่อ

ผังงานการแก้ปัญหาเรื่องฝน

3. วิธีการแก้ปัญหา คือ การดำเนินการแก้ปัญหาตามแนวทางที่วางไว้ถ้าพบวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกว่าสามารถเปลี่ยนแปลงวิธีการได้ การแก้ปัญหาอาจทำได้หลายวิธี เช่น
1) การลองผิดลองถูก เป็นการแก้ปัญหาง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน เช่น การเล่นเกมย้ายก้านไม้ขีด การเล่นเกมตัวต่อ เกมคัดแยกกลุ่มของหนักเบา เกมต่อจิกซอว์

เกมส์ต่อจิ๊กซอ

2) ใช้ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มีเหตุผลซึ่งกันและกัน เป็นการแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้น โดยต้องมีข้อมูลพื้นฐานก่อนเพื่อนำมาวิเคราะห์ สรุปผลแล้วนำไปแก้ปัญหา

ตัวอย่าง ตัวเลขในช่องว่าง คือตัวเลขอะไร ถ้าทุกแถวในแนวนอนและแนวตั้งต้องมีตัวเลข 1 2 3 4 โดยตัวเลขในแต่ละแถวต้องบวกกันแล้วได้ผลลัพธ์เท่ากับ 10

เกมซูโดกุ  ขนาด4×4

3) การขจัดเป็นการแก้ปัญหาโดยหาความสัมพันธ์ของข้อมูลให้มากที่สุดแล้วพยายามขจัดสิ่งที่ไม่เกี่ยวข้องออกไป จนได้คำตอบที่ต้องการ

ตัวอย่าง มีนักเรียน 3 คน มด โหน่ง หนุ่ย แต่ละคนมีของอยู่ 2 อย่างที่ไม่ซ้ำกัน คือ ดินสอ ไม้บรรทัด ยางลบ กระดาษวาดเขียน สีไม้ และกบเหลาดินสอ แต่ไม่ทราบว่าใครเป็นเจ้าของอะไรบ้าง และเรามีข้อมูล ดังนี้

  1. มดขอยืมยางลบจากเพื่อนเสมอ
  2. โหน่งไม่ชอบใช้ไม้บรรทัดขีดเส้น
  3. หนุ่ยชอบใช้สีน้ำระบายสีภาพ
  4. โหน่งแบ่งกระดาษวาดเขียนให้มด
  5. หนุ่ยไม่เคยยืมกบเหลาดินสอของเพื่อนเลย
  6. มดให้หนุ่ยยิ้มไม้บรรทัดขีดเส้น
  7. โหน่งขอยืมสีไม้จากมด
  8. โหน่งเขียนชื่อตัวเองลงในยางลบ

จากข้อมูลที่ทราบ ถ้าทำตารางการแจกแจง แล้วนำข้อมูลแต่ละข้อมาพิจารณาแล้วเขียนลงในตารางจะได้ ดังนี้

ตารางการแจกแจง ข้อมูลแต่ละข้อมาพิจารณา

จากตารางและข้อมูลที่เขียนขึ้น ทำให้พิจารณาได้ว่าใครเป็นเจ้าของอุปกรณ์ชื่นใดบ้าง

4. ประโยชน์ในการใช้หลักการแก้ปัญหา

  1. ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบ
  2. ฝึกการหาคำตอบอย่างมีเหตุผล
  3. แก้ปัญหาได้โดยมีข้อบกพร่องน้อยที่สุด
  4. เป็นวิธีการที่น่าเชื่อถือ และยอมรับได้เมื่อสามารถแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง โดยใช้หลักการและเหตุผล

5. เกมการแก้ปัญหา
การฝึกการแก้ปัญหาเป็นอีกวิธีการหนึ่งที่ใช้ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบได้เป็นอย่างดี แต่เราอาจยังไม่ต้องแก้ปัญหาจริง เพียงแค่ฝึกจากเกมที่มีอยู่ก็ได้ซึ่งมีทั้งเกมในลักษณะของสื่อต่าง ๆ หรือเกมคอมพิวเตอร์เกมย้ายก้านไม้ขีดไฟเป็นอีกเกมหนึ่งที่นิยมเล่นในการทายจำนวนจากตัวเลข และทายรูปทรงต่างๆ

คำศัพท์ที่ต้องรู้

คำศัพท์คำอ่านคำแปล
messageเมส ซิจข้อความ
paintingเพน ทิ้งการวาดภาพ
symbolซิม เบิลสัญลักษณ์
tellเทลบอก
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สีคู่ตรงข้าม ป.6

        สีคู่ตรงข้ามคือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ สีคู่ตรงข้ามทำให้ผู้ที่มองเห็นเกิดความรู้สึกขัดแย้งแต่วิธีการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมจะทำให้ผลงานทัศนศิลป์มีความโดดเด่นสวยงามและน่าสนใจ...

กลเม็ดเคล็ดลับ อ่านหนังสือยังไงให้จำแม่น

การอ่านหนังสือให้จำได้ดีนั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่การอ่านอย่างรวดเร็ว แต่เป็นการอ่านอย่างเข้าใจและมีเทคนิคการจดจำที่เหมาะสม บทความนี้ขอเสนอเคล็ดลับเด็ด ๆ ที่จะช่วยให้คุณอ่านหนังสือได้อย่างมีประสิทธิภาพและจดจำเนื้อหาได้แม่นยำยิ่งขึ้น 1. เตรียมตัวก่อนอ่าน: หาสถานที่ที่เหมาะสม: เลือกมุมสงบ ปราศจากสิ่งรบกวน แสงสว่างเพียงพอ อุณหภูมิห้องเย็นสบาย จัดเตรียมอุปกรณ์: เตรียมหนังสือ ปากกา โน้ต ไฮไลท์เตอร์ หรืออุปกรณ์ที่จำเป็น ตั้งเป้าหมาย: กำหนดจำนวนหน้าหรือเนื้อหาที่ต้องการอ่านในแต่ละครั้ง ปรับสภาพร่างกายและจิตใจ: นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้ครบ 5...

การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัลในสถานศึกษาและที่ทำงาน: การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อสร้างความสำเร็จ

การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล: โอกาสและความท้าทาย 1. การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการทำงานและการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ดีขึ้น 2. การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกฝนทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชันช่วยเสริมสร้างความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัลช่วยเพิ่มความเข้าใจและการสื่อสาร ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การให้ความรู้และการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัลช่วยเสริมความมั่นใจและความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน 4. การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถฝึกฝนและพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตช่วยสร้างความสนใจและความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้านดิจิทัลตลอดชีวิต 5. การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมช่วยเสริมสร้างความรู้สึกของความรับผิดชอบต่อสังคมและการช่วยเหลือผู้อื่น 6. การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชนช่วยสร้างโอกาสใหม่ๆ และเปิดโอกาสในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความต้องการในปัจจุบันและอนาคต FAQs (คำถามที่พบบ่อย) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมีผลกระทบอย่างไรต่อการเรียนรู้และการทำงาน?การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการเรียนรู้และการทำงาน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรที่จำเป็นได้ท ุกที่ทุกเวลา ทำไมการฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลถึงสำคัญ?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลช่วยเพิ่มความสามารถในการแก้ไขปัญหาและการทำงานในสถานการณ์ต่างๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญต่ออุตสาหกรรมในปัจจุบันหรือไม่?ใช่ เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญมากในอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยช่วยให้กระบวนการการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านช่องทางใดบ้าง?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านการเรียนออนไลน์...

Unleashing the Power of Digital Competencies in Education and the Workplace

Introduction: ในยุคดิจิทัลปัจจุบัน ความชำนาญในการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับความสำเร็จทั้งในด้านการศึกษาและการทำงาน บทความนี้จะสำรวจถึงความสำคัญของการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัลและผลกระทบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและองค์กร Understanding Digital Competencies Defining Digital Literacy การรู้ความสามารถทางดิจิทัลมีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเข้าถึง ประเมินและสร้างข้อมูล Navigating Digital Citizenship การเป็นพลเมืองดิจิทัลเกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือดิจิทัลอย่างรับผิดชอบและมีจริยธรรม เพื่อสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ปลอดภัยและเคารพหน้าที่ต่อสังคม Embracing Technological Fluency ความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีคือความเข้าใจลึกลับในระบบดิจิทัลและความสามารถในการปรับตัวกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง Fostering Information Literacy ความรู้ความสามารถทางข้อมูลเป็นการส่งให้ความรู้ให้กับบุคคลที่สามารถประเมินอย่างสำคัญและรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลดิจิทัล The Impact of Digital Competencies Empowering Learning...

About ครูออฟ 1230 Articles
https://www.kruaof.com

Be the first to comment

Leave a Reply

Your email address will not be published.