หลักการเติม ing ใน continuos tense 😬

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

1. กริยาที่มี…

  • สระเสียงสั้นตัวเดียว  ได้แก่ a (แอะ), e (เอะ), i (อิ), o (เอาะ), u  (อุ, อะ)
  • และมีตัวสะกดตัวเดียว
    ให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วค่อยเติม ing เช่น
    • pat  (แพ็ท) >> patting ตบเบาๆ
    • get (เก็ท) >> getting ได้รับ
    • sit (ซิท)  >> sitting นั่ง
    • swim (สวิม) >> swimming ว่ายน้ำ
    • stop (สต็อพ) >> stopping หยุด
    • shop (ช็อพ) >> shopping จ่ายตลาด
    • run (รัน) >> running วิ่ง
    • cut (คัท) >> cutting ตัด
    • put (พุท) >> putting วาง

2. กริยาที่ลงท้ายด้วย e ให้ตัด e ทิ้ง แล้วเติม ing

  • ride >> riding ขี่
  • drive >> driving ขับ
  • give >> giving ให้
  • come >> coming มา
  • make >> making ทำ
  • take >> taking เอา
  • write >> writing เขียน
  • dance >> dancing เต้นรำ

แต่…กริยาที่ลงท้ายด้วย ee ให้เติม ing ได้เลย ห้ามตัด e ทิ้ง นะครับ จำให้แม่น

  • see >> seeing พบ
  • flee >> fleeing หนี

3. กริยาที่ลงท้ายด้วย ie ให้เปลี่ยน ie เป็น y แล้วเติม ing

  • die >> dying ตาย
  • lie >> lying นอน
  • tie >> tying มัด
  • vie >> vying ลงแข่ง

4. (สำหรับคนที่เก่งขึ้นมาหน่อย) กริยาที่มีสองพยางค์ขึ้นไป ถ้า stress (เน้นเสียง) พยางค์หลัง  ให้เพิ่มตัวสะกดอีกหนึ่งตัว แล้วเติม ing แต่ถ้า stress พยางค์หน้า ไม่ต้องเติมตัวสะกด

stress พยางค์หน้า

  • visit >> visiting
  • deliver >> delivering

Stress พยางค์หลัง

  • admit >> admitting
  • refer >> referring

5. นอกนั้นเติม ing ได้เลยทันที

  • drink >> drinking ดื่ม
  • fight >> fighting ต่อสู้
  • fall >> falling ตก
  • ring >> ringing สั่น
  • wash >> washing ล้าง
  • sleep >> sleeping  นอนหลับ
  • look >> looking มอง
  • eat >> eating กิน
  • speak >> speaking พูด
  • break >> breaking แตก
  • meet >> meeting พบ
  • say >> saying พูด
  • see >> seeing พบ เห็น
  • fly >> flying บิน
  • buy >> buying ซื้อ
  • go >> going ไป
  • grow >> growing ปลูก
  • do >> doing ทำ
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การบันทึกจราจรบนอินเตอร์เน็ต ตาม พรบ.คอมพิวเตอร์

ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม กำหนดให้ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต (ISP) และผู้ให้บริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ต้องเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) ไว้เป็นระยะเวลาหนึ่ง โดยทั่วไปคือไม่น้อยกว่า 90 วัน นับจากวันที่ข้อมูลนั้นถูกสร้างขึ้น เพื่อตรวจสอบและติดตามการกระทำผิดทางคอมพิวเตอร์ได้ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (Log) คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น ที่อยู่ IP,...

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต

วิชาออกแบบเทคโนโลยี ม.3: ท้าทายสมอง สร้างสรรค์นวัตกรรม สู่โลกอนาคต ในวิชานี้ นักเรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับ: 1. เทคโนโลยีเปลี่ยนโลก: เรียนรู้ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ยกตัวอย่างเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงโลก เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ ปัญญาประดิษฐ์ หุ่นยนต์ ฯลฯ 2. เทคโนโลยีแก้ปัญหา: วิเคราะห์สถานการณ์เพื่อหาปัญหาที่ต้องการแก้ไข ออกแบบวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี นำความรู้ ทักษะ ทรัพยากร มาประยุกต์ใช้ เลือกใช้เครื่องมือ วัสดุ อุปกรณ์ กลไก ไฟฟ้า...

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1?

เรียนอะไรบ้างในวิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1? วิชา "การออกแบบเทคโนโลยี" ม.1 มุ่งเน้นให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยี กระบวนการออกแบบ การประเมินผล และจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สาระการเรียนรู้หลักๆ แบ่งเป็น 4 ด้าน ดังนี้ 1. รู้จักเทคโนโลยีรอบตัว เทคโนโลยีคืออะไร? มีกี่ประเภท? เทคโนโลยีมีบทบาทอย่างไรในชีวิตประจำวัน? ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วยอะไรบ้าง? ทำงานอย่างไร? วัสดุและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ในงานออกแบบและเทคโนโลยีมีอะไรบ้าง? กระบวนการทางเทคโนโลยีมีขั้นตอนอย่างไร? 2. ออกแบบสิ่งประดิษฐ์เทคโนโลยี หลักการออกแบบที่ดีมีอะไรบ้าง?...

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551

สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 สาระการเรียนรู้หลักในวิชา การออกแบบเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา พุทธศักราช 2551 ประกอบด้วยหัวข้อสำคัญดังนี้: การออกแบบและเทคโนโลยี: ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบและเทคโนโลยี ขั้นตอนการออกแบบ กระบวนการแก้ปัญหาโดยใช้เทคโนโลยี การสร้างชิ้นงาน: การวางแผนการสร้างชิ้นงาน การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือในการสร้างชิ้นงาน การประกอบและตกแต่งชิ้นงาน การนำเสนอและประเมินผล: การนำเสนอชิ้นงานและแนวคิดการออกแบบ การประเมินผลงานการออกแบบและการสร้างชิ้นงาน การรับฟังความคิดเห็นและการปรับปรุงแก้ไขผลงาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร: การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการออกแบบ การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์ในการสร้างแบบจำลอง ความปลอดภัยในการทำงาน: ความสำคัญของความปลอดภัยในการทำงาน วิธีการใช้อุปกรณ์และเครื่องมืออย่างปลอดภัย การปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ เนื้อหาวิชานี้มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดวิเคราะห์และการแก้ปัญหา มีความคิดสร้างสรรค์ และสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางเทคโนโลยีในการสร้างสรรค์ผลงานที่มีประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้....

About ครูออฟ 1264 Articles
https://www.kruaof.com