2. ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ส่วนประกอบของหน้าจอโปรแกรม ก่อนที่จะทำงานกับโปรแกรม Microsoft Office Word

จะต้องรู้จักกับส่วนประกอบของหน้าจอ โปรแกรมก่อน เพื่อจะได้เข้าใจถึงส่วนต่างๆ

ผลการค้นหารูปภาพสำหรับ ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft office Word 2013

เลขที่

ชื่อส่วนประกอบ

หน้าที่

1

File (แฟ้ม) ศูนย์รวมคำสั่งสำหรับจัดการไฟล์ เช่น Save (บันทึก) Open (เปิด) New (สร้างไฟล์ใหม่เป็นต้น)

2

Quick Access Toolbar (แถบเครื่องมือด่วน) แถบเก็บปุ่มคำสั่งที่ใช้บ่อย ๆ โดยโปรแกรมกำหนด ค่าเริ่มต้นให้ แต่สามารถเพิมเติมได้

3

Title Bar (แถบชื่อเรื่อง) แถบแสดงชื่อและประเภทของไฟล์

4

Ribbon (ริบบอน) แถบกลุ่มคำสั่งซึ่งประกอบด้วยคำสั่งต่าง ๆ โดยจะเก็บรวบรวมคำสั่ง ไว้เป็นหมวดหมู่

5

Cursor (เคอร์เซอร์) เครื่องหมายแสดงจุดเริ่มต้นการพิมพ์เอกสาร

6

Program Windows Controls (แถบควบคุมวินโดวส์) ปุ่มจัดการหน้าต่างโปรแกรม ใช้สำหรับ ย่อ ขยาย และปิด

7

Scrollbar (แถบเลื่อน) แถบสำหรับเลื่อนหน้าจอ

8

Status Bar(แถบสถานะ) แถบแสดงข้อมูลเกี่ยวกับไฟล์ เช่น จำนวนหน้า จำนวนคำ และภาษาที่ใช้พิมพ์

9

View Shortcuts (แถบมุมมองเอกสาร) ปุ่มกำหนดมุมมองการแสดงผลของเอกสาร

10

Zoom Controls (แถบย่อ/ขยายเอกสาร) ปุ่มปรับขนาดการแสดงผลของเอกสาร  ย่อหรือขยาย
คลิกรูป หรือเครื่องหมายบวก + หมายถึง ขยายเอกสาร
คลิกรูป หรือเครื่องหมายลบ – หมายถึง ย่อเอกสาร
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ไขปัญหา: วิธีคิดวิเคราะห์เพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ

การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ไขปัญหา บทนำ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะเป็นหนึ่งในทักษะที่สำคัญที่ช่วยให้เราสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาในชีวิตประจำวันหรือในที่ทำงาน การมีเหตุผลเชิงตรรกะช่วยให้เรามองเห็นปัญหาในมุมที่ชัดเจน และสามารถหาทางแก้ไขได้อย่างตรงจุด ความหมายและพื้นฐานของเหตุผลเชิงตรรกะ ความหมายของเหตุผลเชิงตรรกะ เหตุผลเชิงตรรกะหมายถึงการใช้ความคิดอย่างมีระบบระเบียบเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ถูกต้อง โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร์และปรัชญา ซึ่งช่วยให้เรามองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่างๆ และสามารถวิเคราะห์ได้อย่างถูกต้อง หลักการพื้นฐานของเหตุผลเชิงตรรกะ หลักการพื้นฐานของเหตุผลเชิงตรรกะประกอบด้วย: ความชัดเจน (Clarity) ความถูกต้อง (Accuracy) ความสม่ำเสมอ (Consistency) การเป็นเหตุเป็นผล (Relevance) ความแตกต่างระหว่างเหตุผลเชิงตรรกะกับเหตุผลเชิงอารมณ์ เหตุผลเชิงตรรกะเน้นที่การใช้ความคิดและการวิเคราะห์อย่างมีระบบ ขณะที่เหตุผลเชิงอารมณ์เน้นที่ความรู้สึกและการตอบสนองทางอารมณ์ ประโยชน์ของการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ไขปัญหา การปรับปรุงการตัดสินใจ การใช้เหตุผลเชิงตรรกะช่วยให้เราสามารถตัดสินใจได้อย่างมีข้อมูลและมีความมั่นใจมากขึ้น ซึ่งลดความเสี่ยงในการตัดสินใจผิดพลาด การลดความขัดแย้ง การมีเหตุผลเชิงตรรกะช่วยให้เรามีความสามารถในการเจรจาและแก้ไขความขัดแย้งอย่างเป็นเหตุเป็นผล ทำให้สามารถหาทางออกที่ทุกฝ่ายยอมรับได้ การเพิ่มประสิทธิภาพในที่ทำงาน ในที่ทำงาน การใช้เหตุผลเชิงตรรกะช่วยให้การทำงานเป็นระบบมากขึ้น ลดความผิดพลาดและเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ขั้นตอนในการใช้เหตุผลเชิงตรรกะ การระบุปัญหา ขั้นตอนแรกคือการระบุปัญหาอย่างชัดเจน โดยการตั้งคำถามเพื่อหาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา การรวบรวมข้อมูล รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ทั้งข้อมูลที่เป็นจริงและข้อมูลที่อาจมีผลกระทบต่อการตัดสินใจ การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมมา เพื่อหาความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงระหว่างข้อมูลต่างๆ การประเมินทางเลือก ประเมินทางเลือกที่มีอยู่ โดยพิจารณาข้อดีและข้อเสียของแต่ละทางเลือก การตัดสินใจและการดำเนินการ ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดและดำเนินการตามแผนที่วางไว้ ตัวอย่างการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในชีวิตประจำวัน การจัดการเวลา การใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการจัดการเวลา...

การใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อสื่อสารกับผู้ปกครองในระบบการศึกษา

การใช้เครื่องมือดิจิทัลเพื่อสื่อสารกับผู้ปกครองในระบบการศึกษาเป็นวิธีที่ได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเครื่องมือเหล่านี้มีประสิทธิภาพในการสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างโรงเรียนและผู้ปกครอง นี่คือการนำเสนอวิธีการและประโยชน์ของการใช้เครื่องมือดิจิทัลในการสื่อสารกับผู้ปกครอง: 1. แพลตฟอร์มการสื่อสารเฉพาะด้านการศึกษา เครื่องมืออย่าง ClassDojo, Seesaw, และ Edmodo เป็นแพลตฟอร์มที่ออกแบบมาเพื่อการสื่อสารระหว่างครู ผู้ปกครอง และนักเรียนโดยเฉพาะ ผู้ปกครองสามารถติดตามความก้าวหน้าของบุตรหลาน และรับข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างรวดเร็วและสะดวก 2. อีเมลและจดหมายข่าวดิจิทัล การใช้อีเมลและจดหมายข่าวดิจิทัลเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพในการสื่อสารกับผู้ปกครอง ข้อดีของวิธีนี้คือสามารถส่งข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและตรงจุด นอกจากนี้ยังสามารถแนบไฟล์หรือเอกสารสำคัญเพิ่มเติมได้ 3. แอปพลิเคชันสำหรับการส่งข้อความ แอปพลิเคชันเช่น LINE, WhatsApp, และ...

ใช้หลัก SMART ในการกำหนดวัตถุประสงค์

หลัก SMART เป็นกรอบการทำงานที่ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักคือ Specific (เฉพาะเจาะจง), Measurable (วัดผลได้), Achievable (สามารถทำได้), Relevant (สอดคล้อง), และ Time-bound (มีกรอบเวลาชัดเจน) การใช้หลัก SMART ช่วยให้การวางแผนและการบรรลุเป้าหมายเป็นไปอย่างมีระบบและสามารถตรวจสอบได้ง่ายขึ้น Specific...

วิธีการสร้างบทเรียน: ขั้นตอนและแนวทางเพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

การสร้างบทเรียน การสร้างบทเรียนเป็นกระบวนการที่สำคัญสำหรับการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นี่คือขั้นตอนและแนวทางในการสร้างบทเรียน: 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียน ระบุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจน ว่าผู้เรียนควรจะได้อะไรจากบทเรียนนี้ ใช้หลัก SMART (Specific, Measurable, Achievable, Relevant, Time-bound) ในการกำหนดวัตถุประสงค์ 2. วิเคราะห์ผู้เรียน ศึกษาความรู้พื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน พิจารณาระดับความรู้ ประสบการณ์ และวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสม 3. ออกแบบเนื้อหาและกิจกรรม เลือกเนื้อหาที่สำคัญและตรงตามวัตถุประสงค์ จัดโครงสร้างเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เริ่มจากเรื่องง่ายไปยาก วางแผนกิจกรรมที่มีส่วนร่วม เช่น การอภิปราย กลุ่มงาน...

About ครูออฟ 1257 Articles
https://www.kruaof.com