ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา ต้องอาศัยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม ประกอบด้วย องค์ประกอบ 6 ขั้นตอน (สมชาย อุ่นแก้ว. 2560 : 1-17) ได้แก่

  1. ขั้นที่ 1 การวินิจฉัยปัญหา (Problem Identification) ขั้นตอนนี้เริ่มต้นจากการที่ผู้แก้ปัญหาตระหนักถึงสิ่งที่เป็นปัญหาในชีวิตประจําวันและจําเป็นต้องหาวิธีการหรือสร้างสิ่งประดิษฐ์ (Innovation) เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว ในการแก้ปัญหาในชีวิตจริงบางครั้งคําถามหรือปัญหาที่เราระบุ อาจประกอบด้วยปัญหาย่อย ในขั้นตอนของการระบุปัญหาผู้แก้ปัญหาต้องพิจารณาปัญหาหรือกิจกรรมย่อยที่ต้องเกิดขึ้นเพื่อประกอบเป็นวิธีการในการแก้ปัญหาใหญ่ด้วย
  2. ขั้นที่ 2 การรวบรวมข้อมูลที่สัมพันธ์กับปัญหา (Related Information Search) หลังจากแก้ปัญหาทําความเข้าใจปัญหาและสามารถระบุปัญหาย่อย ขั้นตอนต่อไป คือ การรวบรวมข้อมูลและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการแก้ปัญหาดังกล่าว ในการค้นหาแนวคิดที่เกี่ยวข้องผู้แก่ปัญหาอาจมี การดําเนินการ ดังนี้
    • การรวบรวมข้อมูล คือ การสืบค้นว่าเคยมีใครหาวิธีแก้ปัญหาดังกล่าวนี้แล้วหรือไม่ และหากมีเขาแก้ปัญหาอย่างไร และมีข้อเสนอแนะใดบ้าง
    • การค้นหาแนวคิด คือการค้นหาแนวคิดหรือความรู้ทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ หรือเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องและสามารถประยุกต์ในการแก้ปัญหาได้ ในขั้นตอนนี้ ผู้แก่ปัญหาควรพิจารณา
      แนวคิดหรือความรู้ทั้งหมดที่สามารถใช้แก้ปัญหาและจดบันทึกแนวคิดไว้เป็นทางเลือก และหลังจากการรวบรวมแนวคิดเหล่านั้น แล้วจึงประเมินแนวคิดเหล่านั้น โดยพิจารณาถึงความเป็นไปได้ ความคุมทุนข้อดีและจุดอ่อน และความเหมาะสมกับเงื่อนไขและขอบเขตของปัญหา แล้วจึงเลือกแนวคิดหรือวิธีการที่เหมาะสมที่สุด
  3. ขั้นที่ 3 การออกแบบวิธีการแก้ปัญหา (Solution Design) หลังจากเลือกแนวคิดที่เหมาะสมในการแก้ปัญหาแล้วขั้นตอนต่อไป คือ การนําความรู้ที่ได้รวบรวมมาประยุกต์ เพื่อออกแบบวิธีการ กําหนดองค์ประกอบของวิธีการหรือผลผลิต ทั้งนี้ ผู้แก้ปัญหาต้องอ้างอิงถึงความรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีที่รวบรวมได้ประเมิน ตัดสินใจเลือกและใช้ความรู้ที่ได้มาในการสร้างภาพร่างหรือกําหนดเค้าโครงของวิธีการแก้ปัญหา
  4. ขั้นที่ 4 การวางแผนและพัฒนาชิ้นงาน (Planning and Development) หลังจากที่ได้ออกแบบวิธีการและกําหนดเค้าโครงของวิธีการแก้ปัญหาแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การพัฒนาต้นแบบ (Prototype) ของสิ่งที่ได้ออกแบบไว้ในขั้นตอนนี้ ผู้แก้ปัญหาต้องกําหนดขั้นตอนย่อยในการทํางาน รวมทั้งกําหนดเป้าหมายและระยะเวลาในการดําเนินการแต่ละขั้นตอนย่อยให้ชัดเจน
  5. ขั้นที่ 5 การทดสอบ ประเมิน และปรับปรุงชิ้นงาน (Testing, Evaluation and Design Improvement) เป็นขั้นตอนทดสอบและประเมินผลจากการใช้งานต้นแบบเพื่อแก้ปัญหา ผลที่ได้จากการทดสอบและประเมินอาจถูกนํามาใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาผลลัพธ์ให้มีประสิทธิภาพใน การแก้ปัญหามากขึ้น การทดสอบและประเมินผลสามารถเกิดขึ้นได้หลายครั้งในกระบวนการแก้ปัญหา
  6. ขั้นที่ 6 การนําเสนอผลงาน (Presentation) หลังจากการพัฒนา ปรับปรุง ทดสอบและประเมินวิธีการแก้ปัญหาหรือผลลัพธ์จนมีประสิทธิภาพตามที่ต้องการแล้ว ผู้แก้ปัญหาต้องนําเสนอผลลัพธ์ต่อสาธารณชน โดยต้องออกแบบวิธีการนําเสนอข้อมูลที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ความหมายและประเภทของเงิน

ความหมายของเงิน: เงินเป็นสิ่งที่มีค่าใช้และมีความสำคัญในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการ มันเป็นสัญลักษณ์ของมูลค่าที่ใช้ในการซื้อขายหรือการแลกเปลี่ยนในชุมชนหรือระบบเศรษฐกิจ นอกจากนี้เงินยังมีคุณสมบัติเป็นเครื่องมือในการเก็งกำไรหรือการลงทุน มันสามารถเป็นอาหารสำหรับการค้าหรือก็เป็นหนี้ที่จะชำระในอนาคต ประเภทของเงิน: เงินเหรียญ: เป็นเงินที่มีรูปร่างและมีค่าตามตัว เหรียญสามารถใช้แลกเปลี่ยนสินค้าและบริการได้โดยตรง ตัวอย่างเช่น เหรียญเงินทอง และเหรียญเงินแสน เงินแบงก์โนตัส: เป็นเงินที่ถูกเก็บรักษาโดยธนาคารหรือองค์กรการเงิน มีรูปแบบเป็นเช็ค บัตรเครดิต และเงินฝากในบัญชีธนาคาร เงินแบงก์โนตัสมักถูกใช้ในการทำธุรกรรมทางการเงิน การชำระเงิน และการออมเงิน ทั้งเงินเหรียญและเงินแบงก์โนตัสมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและการแลกเปลี่ยนในโลกปัจจุบัน การเข้าใจและการจัดการเงินอย่างมีประสิทธิภาพเป็นสิ่งสำคัญสำหรับการบริหารจัดการการเงินของบุคคลและองค์กรทางธุรกิจในทุกๆ ระดับ...

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง?

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง? Generative AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์เชิงกำเนิด คือ เทคโนโลยี AI ที่สามารถสร้างข้อมูลใหม่ ๆ ได้อย่างอัตโนมัติ โดยไม่ต้องมีมนุษย์เข้ามาควบคุม ตัวอย่างผลงานของ Generative AI เช่น สร้างข้อความ: เขียนบทความ แต่งกลอน...

เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้ปกครอง: การเชื่อมต่อและสร้างความเข้าใจในยุคดิจิทัล

ทำความรู้จักเทคโนโลยีที่ช่วยในการสื่อสารกับผู้ปกครอง! บทความนี้เสนอแนวทางการใช้แอปพลิเคชัน แพลตฟอร์มการประชุมออนไลน์ และสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสร้างการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างโรงเรียนและครอบครัวผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ ติดตามความก้าวหน้าของบุตรหลานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความเข้าใจในข้อมูลที่สำคัญของเด็กๆ อย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย...

การใช้เทคโนโลยีในการประเมินผลการเรียนรู้

บทนำ การประเมินผลการเรียนรู้เป็นส่วนสำคัญในการวัดผลการศึกษาในระบบการเรียนการสอนปัจจุบัน ด้วยความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทำให้กระบวนการนี้สามารถพัฒนาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เทคโนโลยีที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ไม่เพียงช่วยเพิ่มความแม่นยำ แต่ยังสามารถลดเวลาและความซับซ้อนในกระบวนการประเมินอีกด้วย ความสำคัญของการประเมินผลการเรียนรู้ การประเมินผลการเรียนรู้ช่วยให้ครูและนักเรียนทราบถึงความสามารถในการเรียนรู้และความก้าวหน้าในการศึกษา การประเมินที่มีประสิทธิภาพยังสามารถชี้ให้เห็นถึงจุดแข็งและจุดอ่อนของนักเรียน ทำให้ครูสามารถปรับปรุงวิธีการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการของนักเรียนแต่ละคนได้ เทคโนโลยีที่ใช้ในการประเมินผลการเรียนรู้ ระบบการจัดการการเรียนรู้ (LMS) ระบบการจัดการการเรียนรู้ (Learning Management System: LMS) เช่น Moodle, Canvas, Blackboard เป็นต้น เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการจัดการการเรียนการสอนและการประเมินผล นักเรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาเรียนและทำการทดสอบออนไลน์ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว...

เทคโนโลยีช่วยยกระดับการเรียนรู้: วิธีการสอนที่นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

เทคโนโลยีช่วยยกระดับการเรียนรู้: วิธีการสอนที่นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ในยุคดิจิทัล เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทสำคัญในทุกแง่มุมของชีวิต การศึกษา ก็เช่นกัน เทคโนโลยีสามารถนำมาใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ และสร้างประสบการณ์การเรียนรู้ที่สนุกสนาน ยืดหยุ่น และเข้าถึงได้ง่ายขึ้น บทความนี้จะนำเสนอวิธีการสอนที่นำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ ดังนี้ 1. การใช้สื่อมัลติมีเดีย: วิดีโอ: การใช้สื่อวิดีโอช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้เนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ วิดีโอสามารถนำเสนอเนื้อหาที่ซับซ้อนให้น่าสนใจ เข้าใจง่าย กระตุ้นให้เกิดการมีส่วนร่วม และช่วยให้นักเรียนจดจำเนื้อหาได้ดีขึ้น อินโฟกราฟิก: อินโฟกราฟิกเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพในการนำเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนให้น่าสนใจและเข้าใจง่าย ช่วยให้นักเรียนสามารถวิเคราะห์ข้อมูล เปรียบเทียบข้อมูล...

About ครูออฟ 1253 Articles
https://www.kruaof.com