บทที่ 2 โพรโทคอล(Protocol)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

โพรโทคอล(Protocol)

โพรโทคอล
-โพรโทคอลการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายที่ผลิตจากผู้ผลิตหลายรายผ่านทางระบบเครือข่ายชนิดต่างๆ กัน ไม่สามารถเชื่อมต่อโดยตรงกันได้ ดังนั้นต้องมีการเปลี่ยนรูปแบบของการส่งและกำหนดมาตรฐานทั้งทางฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ เพื่อให้อุปกรณ์สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ โดยมีองค์กรกลาง เช่น IEEE ,ISO และANSI เป็นผู้กำหนดมาตรฐานขึ้นมา ปัจจุบันเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์จากต่างผู้ผลิต สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ภายใต้มาตรฐานเครือข่ายเดียวกัน

-โพรโทคอล กฎกติกาหรือข้อตกลงที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลระหว่างผู้รับและผู้ส่งเรียกว่า โพรโทคอล (protocol) ซึ่งเป็น ข้อกำหนดที่ใช้ควบคุมการสื่อสารข้อมูลในเครือข่าย เช่น วิธีการรับส่งข้อมูล รูปแบบของการรับส่ง อุปกรณ์หรือสื่อกลางในการรับส่งข้อมูล วิธีการตรวจสอบความผิดพลาดของข้อมูล ความเร็วในการรับส่งข้อมูล

-โพรโทคอล เครื่องคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์เครือข่ายที่ใช้โพรโทคอลชนิดเดียวกันเท่านั้นจึงจะสามารถติดต่อและส่งข้อมูลระหว่างกันได้ โพรโทคอล มีลักษณะเช่นเดียวกับการสื่อสารของมนุษย์ที่ตองใช้ ั ้ภาษาเดียวกันจึงจะสามารถ สือสารกันได้เข้าใจ โพรโทคอลที่ใช้เป็นมาตรฐานในการสื่อสารแบบใช้สายและไร้สาย เช่น ทีซีพี/ไอพี ไวไฟ ไออาร์ ดีเอ บลูทูธ

โพรโทคอล 1. ทีซีพ/ ไอพี (Transmission Control Protocol / InternetProtocol: TCP/IP) เป็ นโพรโทคอลที่ใช้ในการสื่ อสารในระบบอินเทอร์เน็ต โดยมีการระบุผรับผูส่งในเครือข่ายและจัดการแบ่งข้อมูลเป็ นชิ้นเล็กๆ ที่ เรียกว่าแพ็กเก็ต (packet) ส่ งผ่านไปในอินเทอร์เน็ต และข้อมูลที่ส่งไปจะได้รับอย่างถูกต้องและครบถ้วน ในกรณี ที่ข้อมูลเกิด ข้อผิดพลาดระหว่างทาง จะมีการร้องขอเพื่อส่งข้อมูลใหม่ให้

โครงสร้างแบบ ทีซีพี/ไอพี (TCP/IP model)(Transmitsion Control Protocol/Internet Protocol) เป็นมาตรฐานที่ทำให้คอมพิวเตอร์ภายในระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถเชื่อมต่อเข้าหากัน และติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ เป็นมาตรฐานที่ว่าด้วยการกำหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โดยใช้แนวคิดของการแบ่งลำดับชั้นโปรโตโคล

โพรโทคอล 2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) เมื่อมีเทคโนโลยีเครือข่ายแบบไร้สาย (wireless lan) ที่พัฒนา จากสถาบันวิศวกรไฟฟ้ าและอิเลคโทรนิค หรื อ Institute of Electricaland Electronics Engineering (IEEE) ภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.11ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz

โพรโทคอล 2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) ไวไฟเกิดจากการรวมกลุ่มของผูผลิตอุปกรณ์แบบไร้สาย เพื่อ ้ทดสอบว่าอุปกรณ์ที่ผลิตทางานได้ตามมาตรฐานของ IEEE 802.11โดยเครื่ องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่ได้รับการรับรองจากไวไฟ จะสามารถติดต่อสื่ อสารถึงกันได้

image012

2. ไวไฟ (Wireless Fidelity : Wi-Fi) ผูใช้งานในบ้านหรื อสานักงานขนาดเล็ก นิยมใช้ไวไฟในการ ้ติดตั้งระบบแลนไร้สาย (wireless LAN) โดยติดตั้งแผงวงจรหรื ออุปกรณ์รับส่ งไวไฟที่เรี ยกว่า การ์ดแลนไร้สาย (wireless LAN card) รัศมีของการใช้งานแลนไร้สายขึ้นกับความสามารถในการรับส่งสัญญาณของอุปกรณ์ โดยทัวไปจะอยูห่างจากจุดเชื่อมต่อแบบไร้สาย (wireless access point)ไม่เกิน 100 เมตรสาหรับการใช้งานภายในอาคาร และไม่เกิน 500 เมตรสาหรับการใช้งานที่โล่งนอกอาคาร

original_wifi2

3. ไออาร์ดีเอ (Infrared Data Association : IrDA) เป็นโพรโทคอลใช้เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กบอุปกรณ์สื่อสารแบบไร้สายระยะใกล้และไม่มีสิ่งกีดขวาง โดยใช้แสงอินฟาเรดในการติดต่อสื่อสาร และมีความเร็วในการส่งข้อมูล 115 Kbps – 4Mbps ผ่านพอร์ตไออาร์ดีเอ

ดีา

4. บลูทูธ (bluetooth) เป็ นโพรโทคอลที่ใช้คลื่นวิทยุความถี่ 2.4 GHz ในการรับส่งข้อมูล คล้ายกับแลนไร้สายตามมาตรฐาน IEEE 802.15มีวตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ใช้งาน คอมพิวเตอร์สามารถติดต่อสื่อสารกับอุปกรณ์ต่อพ่วงไร้สายอื่น ๆ เช่นเครื่ องพิมพ์ เมาส์ คียบอร์ด ได้ โดยมาตรฐาน บลูทธสามารถส่งข้อมูลได้ที่ความเร็วมากกว่า 3 Mbps

001

เพิ่มเติ่ม IEEE 802.11 คือมาตรฐานการทำงานของระบบเครือข่ายไร้สายกำหนดขึ้นโดย Institute of Electrical and Electronics Engineers (IEEE) เป็นมาตรฐานกลาง ที่ได้นำมาปฏิบัติใช้ เพื่อที่จะทำการเชื่อมโยงอุปกรณ์เครือข่ายไร้สายเข้าด้วยกันบนระบบ ในทางปกติแล้ว การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายไร้สาย จำเป็นต้องใช้อุปกรณ์สองชิ้น นั่นคือ

แอคเซสพอยต์ คือตัวกลางที่ช่วยในการติดต่อระหว่าง ตัวรับ-ส่งสัญญาญไวเลส ของผู้ใช้ กับ สายนำสัญญาณที่จากทองแดงที่ได้รับการเชื่อมต่อกับระบบเครือข่ายแล้ว เช่น สายแลน
ตัวรับ-ส่งสัญญาณไวเลส ทำหน้าที่รับ-ส่ง สัญญาณ ระหว่างตัวรับส่งแต่ละตัวด้วยกัน
หลังจากที่เทคโนโลยีเครือข่ายไร้สายนี้ได้เกิดขึ้น ก็ได้เกิดมาตรฐานตามมาอีกมายมาย โดยที่การจะเลือกซื้อหรือเลือกใช้อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายเหล่านั้น เราจำเป็นจะต้องคำนึงถึงเทคโนโลยีที่ใช้ในผลิตภัณฑ์นั้นๆ รวมถึงความเข้ากันได้ของเทคโนโลยีที่ต่างๆด้วย

แหล่งที่มา

www.wikipedia.org/wiki/IEEE_802.11

www.slideshare.net/krujarin/12-9017214

www.tamkungna.ob.tc/page23.htm

data-communication2009.blogspot.comdata-communication2009.blogspot.comhttp://data-communication2009.blogspot.com/2009/12/3.html

www.learners.in.th

market.mthai.comwww.bangkokbiznews.com

http://it.excise.go.th/u-bluetooth.htm

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ความหมายและประเภทของเงิน: คู่มือความรู้พื้นฐานทางการเงิน

ความหมายของเงิน เงินเป็นสิ่งที่ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการวัดมูลค่า สะสมมูลค่า และเป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ ความสามารถในการทำหน้าที่เหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้เงินกลายเป็นองค์ประกอบสำคัญในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ คุณสมบัติของเงิน สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน: ใช้ในการซื้อขายสินค้าและบริการได้อย่างสะดวก เครื่องมือวัดมูลค่า: สามารถกำหนดและแสดงมูลค่าของสินค้าและบริการได้อย่างชัดเจน เครื่องมือสะสมมูลค่า: สามารถเก็บรักษามูลค่าไว้เพื่อใช้ในอนาคตได้ มาตรฐานในการชำระหนี้: ใช้ในการชำระหนี้ได้ตามที่กำหนด ประเภทของเงิน เงินสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามลักษณะและการใช้งาน ได้แก่: เงินสด: เหรียญและธนบัตรที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เงินฝาก: เงินที่ฝากไว้ในธนาคารหรือสถาบันการเงิน ซึ่งสามารถถอนออกมาใช้ได้เมื่อจำเป็น เงินอิเล็กทรอนิกส์: เงินที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต หรือเงินในแอปพลิเคชันการชำระเงิน เงินตราต่างประเทศ: สกุลเงินของประเทศอื่นที่ใช้ในการทำธุรกรรมระหว่างประเทศ เงินมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและเป็นสิ่งที่ทุกคนใช้ในชีวิตประจำวัน การเข้าใจความหมายและประเภทของเงินจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการจัดการและวางแผนการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ประเภทของเงิน: เงินเหรียญ:...

วิธีการสร้างบทเรียน: ขั้นตอนและแนวทางเพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

การสร้างบทเรียน การสร้างบทเรียนเป็นกระบวนการที่สำคัญสำหรับการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นี่คือขั้นตอนและแนวทางในการสร้างบทเรียน: 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียน ระบุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจน ว่าผู้เรียนควรจะได้อะไรจากบทเรียนนี้ ใช้หลัก SMART (Specific, Measurable, Achievable, Relevant, Time-bound) ในการกำหนดวัตถุประสงค์ 2. วิเคราะห์ผู้เรียน ศึกษาความรู้พื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน พิจารณาระดับความรู้ ประสบการณ์ และวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสม 3. ออกแบบเนื้อหาและกิจกรรม เลือกเนื้อหาที่สำคัญและตรงตามวัตถุประสงค์ จัดโครงสร้างเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เริ่มจากเรื่องง่ายไปยาก วางแผนกิจกรรมที่มีส่วนร่วม เช่น การอภิปราย กลุ่มงาน...

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง?

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง? Generative AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์เชิงกำเนิด คือ เทคโนโลยี AI ที่สามารถสร้างข้อมูลใหม่ ๆ ได้อย่างอัตโนมัติ โดยไม่ต้องมีมนุษย์เข้ามาควบคุม ตัวอย่างผลงานของ Generative AI เช่น สร้างข้อความ: เขียนบทความ แต่งกลอน...

เทคโนโลยีในการสื่อสารกับผู้ปกครอง: การเชื่อมต่อและสร้างความเข้าใจในยุคดิจิทัล

ทำความรู้จักเทคโนโลยีที่ช่วยในการสื่อสารกับผู้ปกครอง! บทความนี้เสนอแนวทางการใช้แอปพลิเคชัน แพลตฟอร์มการประชุมออนไลน์ และสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อสร้างการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพระหว่างโรงเรียนและครอบครัวผ่านเทคโนโลยีสมัยใหม่ ติดตามความก้าวหน้าของบุตรหลานได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความเข้าใจในข้อมูลที่สำคัญของเด็กๆ อย่างรวดเร็วและสะดวกสบาย...

About ครูออฟ 1254 Articles
https://www.kruaof.com