คำอธิบายรายวิชา อังกฤษ เพิ่มเติม ป.5

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ปฏิบัติตามคำสั่ง คำแนะนำ คำขอร้อง คำแนะนำง่ายๆ ที่ใช้ในห้องเรียน   การสะกดคำ การอ่านออกเสียง บทสนทนา ประโยค ให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง คำ เลือกระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงความหมายของประโยค  ตอบคำถามจากการฟังและอ่าน บทสนทนา  นิทานง่ายๆ ประโยค พูด เขียนให้ข้อมูลโต้ตอบเกี่ยวกับตนเอง แสดงความรู้สึก  สื่อสารระหว่างบุคคล  ใช้ถ้อยคำ น้ำเสียง และกิริยา ประโยคบอกความต้องการเกี่ยวกับตนเองคำ   คำสั่งที่ใช้ในห้องเรียน ข้อความที่ใช้ในการพูด เขียน แสดงความต้องการของตนเอง  ให้ข้อมูลความรู้สึกเกี่ยวกับตนเอง และเรื่องใกล้ตัว  บอกความเหมือน ความแตกต่าง ระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่างๆ  แสดงความคิดเห็นง่ายๆโดยใช้คำศัพท์เหมาะสมกับวัย  การใช้ภาษาในการฟัง พูดทำท่าประกอบอย่างสุภาพ  เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษา อ่าน พูด ในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในห้องเรีย

โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้  การสืบค้นข้อมูลและมีทักษะทางสังคม  มีวิถีของระบอบประชาธิปไตย  ซื่อสัตย์  ใฝ่เรียนรู้  แสดงออกถึงความเป็นไทยเพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน

ผลการเรียนรู้
  1. ปฏิบัติตามคำสั่ง คำขอร้องที่ฟัง
  2. อ่านออกเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ ประโยคง่ายๆ และ บทพูดเข้าจังหวะง่ายๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
  3. บอกความหมายของคำและกลุ่มคำที่ฟังตรงตามความหมาย ตอบคำถามจากการฟังหรืออ่านประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่ายๆ
  4. พูดโต้ตอบด้วยคำสั้นๆ ง่ายๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟัง ใช้คำสั่งและคำขอร้องง่ายๆ บอกความต้องการง่ายๆ ของตนเอง  
  5. พูดขอและให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเพื่อน
  6. บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ใกล้ตัวหรือกิจกรรมต่างๆ ตามแบบที่ฟัง
  7. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว  จัดหมวดหมู่คำตามประเภทของบุคคล   สัตว์ และสิ่งของตามที่ฟังหรืออ่าน
  8. พูดและทำท่าประกอบ ตามมารยาทสังคม/วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
  9. บอกชื่อและคำศัพท์ง่ายๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสำคัญ/งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา  เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย
  10. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คำ กลุ่มคำ และประโยคง่ายๆ ของภาษาอังกฤษและภาษาไทย
  11. ฟัง/พูดในสถานการณ์ง่ายๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
  12. ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อรวบรวมคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว
  13. มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ (เน้นการฟัง-พูด) สื่อสารตามหัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว  โรงเรียน  สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว  อาหาร  เครื่องดื่ม  และเวลาว่างและนันทนาการ  ภายในวงคำศัพท์ประมาณ ๓๐๐-๔๕๐ คำ  (คำศัพท์ที่เป็นรูปธรรม)
  14. ใช้ประโยคคำเดียว (One Word Sentence) ประโยคเดี่ยว (Simple Sentence) ในการสนทนาโต้ตอบตามสถานการณ์ในชีวิตประจำวัน
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

สีคู่ตรงข้าม ป.6

        สีคู่ตรงข้ามคือสีที่อยู่ตรงข้ามกันในวงสีธรรมชาติ สีคู่ตรงข้ามทำให้ผู้ที่มองเห็นเกิดความรู้สึกขัดแย้งแต่วิธีการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะสมจะทำให้ผลงานทัศนศิลป์มีความโดดเด่นสวยงามและน่าสนใจ...

กลเม็ดเคล็ดลับ อ่านหนังสือยังไงให้จำแม่น

การอ่านหนังสือให้จำได้ดีนั้น ไม่ได้ขึ้นอยู่กับแค่การอ่านอย่างรวดเร็ว แต่เป็นการอ่านอย่างเข้าใจและมีเทคนิคการจดจำที่เหมาะสม บทความนี้ขอเสนอเคล็ดลับเด็ด ๆ ที่จะช่วยให้คุณอ่านหนังสือได้อย่างมีประสิทธิภาพและจดจำเนื้อหาได้แม่นยำยิ่งขึ้น 1. เตรียมตัวก่อนอ่าน: หาสถานที่ที่เหมาะสม: เลือกมุมสงบ ปราศจากสิ่งรบกวน แสงสว่างเพียงพอ อุณหภูมิห้องเย็นสบาย จัดเตรียมอุปกรณ์: เตรียมหนังสือ ปากกา โน้ต ไฮไลท์เตอร์ หรืออุปกรณ์ที่จำเป็น ตั้งเป้าหมาย: กำหนดจำนวนหน้าหรือเนื้อหาที่ต้องการอ่านในแต่ละครั้ง ปรับสภาพร่างกายและจิตใจ: นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ ทานอาหารให้ครบ 5...

การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัลในสถานศึกษาและที่ทำงาน: การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อสร้างความสำเร็จ

การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล: โอกาสและความท้าทาย 1. การทำความเข้าใจเรื่องการพัฒนาสมรรถนะด้านการใช้ดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนรู้เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นหนึ่งในขั้นตอนสำคัญที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในการทำงานและการแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี การเพิ่มความเข้าใจในการทำงานด้านดิจิทัล การเข้าใจเกี่ยวกับการทำงานด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถทำงานอย่างมีประสิทธิภาพในสถานการณ์ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลได้ดีขึ้น 2. การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัล การพัฒนาทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชัน การฝึกฝนทักษะในการใช้โปรแกรมและแอปพลิเคชันช่วยเสริมสร้างความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัล การฝึกทักษะการสื่อสารดิจิทัลช่วยเพิ่มความเข้าใจและการสื่อสาร ในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 3. การสนับสนุนและการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัล การให้ความรู้และการสนับสนุน การให้ความรู้และการสนับสนุนจากผู้เชี่ยวชาญช่วยเสริมสร้างความเข้าใจและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัล การเสริมสร้างทักษะด้านดิจิทัลช่วยเสริมความมั่นใจและความเชี่ยวชาญในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการทำงาน 4. การสร้างสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการเรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัล การสร้างพื้นที่เรียนรู้ด้านดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถฝึกฝนและพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิต การสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตช่วยสร้างความสนใจและความกระตือรือร้นในการเรียนรู้ด้านดิจิทัลตลอดชีวิต 5. การแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้ดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัล การเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลช่วยให้บุคคลสามารถแก้ไขปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคม การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อแก้ไขปัญหาทางสังคมช่วยเสริมสร้างความรู้สึกของความรับผิดชอบต่อสังคมและการช่วยเหลือผู้อื่น 6. การตอบสนองแก่ความต้องการและแนวโน้มใหม่ๆ การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชน การใช้เทคโนโลยีใหม่ๆ เช่น ปัญญาประดิษฐ์และบล็อกเชนช่วยสร้างโอกาสใหม่ๆ และเปิดโอกาสในการพัฒนาทักษะด้านดิจิทัล การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี การปรับตัวกับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีช่วยสร้างความเชื่อมั่นและความสามารถในการใช้เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและความต้องการในปัจจุบันและอนาคต FAQs (คำถามที่พบบ่อย) การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมีผลกระทบอย่างไรต่อการเรียนรู้และการทำงาน?การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลช่วยเพิ่มความสะดวกสบายในการเรียนรู้และการทำงาน โดยสามารถเข้าถึงข้อมูลและทรัพยากรที่จำเป็นได้ท ุกที่ทุกเวลา ทำไมการฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลถึงสำคัญ?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลช่วยเพิ่มความสามารถในการแก้ไขปัญหาและการทำงานในสถานการณ์ต่างๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยี เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญต่ออุตสาหกรรมในปัจจุบันหรือไม่?ใช่ เทคโนโลยีดิจิทัลมีส่วนสำคัญมากในอุตสาหกรรมในปัจจุบัน โดยช่วยให้กระบวนการการทำงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็วขึ้น การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านช่องทางใดบ้าง?การฝึกฝนทักษะด้านดิจิทัลสามารถทำได้ผ่านการเรียนออนไลน์...

Unleashing the Power of Digital Competencies in Education and the Workplace

Introduction: ในยุคดิจิทัลปัจจุบัน ความชำนาญในการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเป็นสิ่งที่สำคัญสำหรับความสำเร็จทั้งในด้านการศึกษาและการทำงาน บทความนี้จะสำรวจถึงความสำคัญของการพัฒนาความสามารถด้านดิจิทัลและผลกระทบที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระดับบุคคลและองค์กร Understanding Digital Competencies Defining Digital Literacy การรู้ความสามารถทางดิจิทัลมีความหมายที่เกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือและเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อเข้าถึง ประเมินและสร้างข้อมูล Navigating Digital Citizenship การเป็นพลเมืองดิจิทัลเกี่ยวข้องกับการใช้เครื่องมือดิจิทัลอย่างรับผิดชอบและมีจริยธรรม เพื่อสนับสนุนการปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ปลอดภัยและเคารพหน้าที่ต่อสังคม Embracing Technological Fluency ความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีคือความเข้าใจลึกลับในระบบดิจิทัลและความสามารถในการปรับตัวกับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง Fostering Information Literacy ความรู้ความสามารถทางข้อมูลเป็นการส่งให้ความรู้ให้กับบุคคลที่สามารถประเมินอย่างสำคัญและรับรู้ถึงความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลดิจิทัล The Impact of Digital Competencies Empowering Learning...

About ครูออฟ 1230 Articles
https://www.kruaof.com