2. แนวคิดในการแก้ปัญหา ป.6

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

จุดประสงค์การเรียนรู้

  1. อธิบายกระบวนการทำงานหรือการแก้ปัญหา โดยใช้แนวคิดแบบต่าง ๆ ได้ (K)
  2. ออกแบบกระบวนการทำงานหรือการแก้ปัญหา โดยใช้แนวคิดแบบต่าง ๆ ได้ (P)
  3. ยกตัวอย่างการแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดการทำงานแบบต่าง ๆ ในชีวิตประจำวันได้ (A)

สาระสำคัญ

แนวคิดในการแก้ปัญหา คือแนวคิดที่ใช้ในการพิจารณากระบวนการทำงานหรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างเป็นขั้นตอน ช่วยให้การทำงานและการแก้ปัญหาสามารถทำได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ โดยแนวคิดในการแก้ปัญหามี 3 รูปแบบคือ แนวคิดการทำงานแบบลำดับ แนวคิดการทำงานแบบวนซ้ำ และแนวคิดการทำงานแบบมีเงื่อนไข

Screenshot 20210111 152152 Drive
Screenshot 20210111 152315 Drive
Screenshot 20210111 152456 Drive

จากตัวอย่างการทำความสะอาดห้องนอนของปูนั้น ปูจะเริ่ม
ทำความสะอาดจากบริเวณที่อยู่สูงก่อน แล้วจึงไล่ลงมาจนถึงบริเวณที่อยู่ต่ำสุด ซึ่งการทำงานแบบนี้เป็นการทำงานที่มีการกำหนดขั้นตอนการทำงานก่อน-หลังอย่างชัดเจน โดยจะต้องทำงานในขั้นตอนแรกให้สำเร็จก่อนแล้วจึงจะทำงานในขั้นตอนถัดไป

SmartSelect 20210111 152730 Drive
Screenshot 20210111 152836 Drive
Screenshot 20210111 152924 Drive

การแก้ปัญหาโดยใช้แนวคิดการทำงานแบบมีเงื่อนไขนักเรียนจะต้องเข้าใจเงื่อนไขต่างๆ ที่กำหนดไว้ให้ชัดเจนก่อน แล้วจึงนำเหตุผลเชิงตรรกะมาช่วยในการพิจารณาแก้ไขปัญหา

SmartSelect 20210111 153059 Drive
Screenshot 20210111 153157 Drive

เมื่อนักเรียนทราบแล้วว่า ขยะแต่ละชนิดเป็นขยะประเภทใด นักเรียนก็จะสามารถแยกขยะลงในถังขยะที่รองรับได้ เช่น ขยะกระดาษ เป็นขยะที่สามารถรีไซเคิลได้จึงต้องทิ้งลงในถังสีเหลืองหรือขยะเศษอาหารเป็นขยะที่สามารถย่อยสลายได้จึงต้องทิ้งลงในถังสีเขียว

SmartSelect 20210111 153432 Drive
Screenshot 20210111 153533 Drive
SmartSelect 20210111 153601 Drive
Screenshot 20210111 153635 Drive
Screenshot 20210111 153709 Drive

แนวคิดการทำงานแบบวนซ้ำมีทั้งแบบที่มีจำนวนครั้งแน่นอนและไม่แน่นอน

ภาพด้านบนเป็นการทำงานที่มีลักษณะเดียวกันหลายๆ ครั้ง ซึ่งสามารถนำมาเขียนเป็นการทำงานแบบวนซ้ำได้ดังภาพด้านล่าง

SmartSelect 20210111 153941 Drive
SmartSelect 20210111 154038 Drive
Screenshot 20210111 154132 Drive

ภาพด้านบนเป็นภาพที่แสดงถึงการใช้ขันตักน้ำอาบโดยไม่ทราบจำนวนครั้งว่า จะต้องใช้ขันตักน้ำกี่ครั้งเพื่ออาบน้ำจนกว่าสบู่จะหมด ดังนั้นจึงสามารถนำมาเขียนเป็นการทำงานแบบวนซ้ำได้ดังภาพด้านล่าง

SmartSelect 20210111 154338 Drive
SmartSelect 20210111 154401 Drive
Screenshot 20210111 154439 Drive
Screenshot 20210111 154622 Drive
Screenshot 20210111 154655 Drive
SmartSelect 20210111 154740 Drive
SmartSelect 20210111 154820 Drive
SmartSelect 20210111 154911 Drive
Screenshot 20210111 155022 Drive
SmartSelect 20210111 155110 Drive
SmartSelect 20210111 155158 Drive
SmartSelect 20210111 155231 Drive
SmartSelect 20210111 155257 Drive
SmartSelect 20210111 155328 Drive
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ใช้หลัก SMART ในการกำหนดวัตถุประสงค์

หลัก SMART เป็นกรอบการทำงานที่ช่วยในการกำหนดวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลักคือ Specific (เฉพาะเจาะจง), Measurable (วัดผลได้), Achievable (สามารถทำได้), Relevant (สอดคล้อง), และ Time-bound (มีกรอบเวลาชัดเจน) การใช้หลัก SMART ช่วยให้การวางแผนและการบรรลุเป้าหมายเป็นไปอย่างมีระบบและสามารถตรวจสอบได้ง่ายขึ้น Specific...

วิธีการสร้างบทเรียน: ขั้นตอนและแนวทางเพื่อการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

การสร้างบทเรียน การสร้างบทเรียนเป็นกระบวนการที่สำคัญสำหรับการศึกษา เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และเข้าใจเนื้อหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ นี่คือขั้นตอนและแนวทางในการสร้างบทเรียน: 1. กำหนดวัตถุประสงค์ของบทเรียน ระบุวัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่ชัดเจน ว่าผู้เรียนควรจะได้อะไรจากบทเรียนนี้ ใช้หลัก SMART (Specific, Measurable, Achievable, Relevant, Time-bound) ในการกำหนดวัตถุประสงค์ 2. วิเคราะห์ผู้เรียน ศึกษาความรู้พื้นฐานและความต้องการของผู้เรียน พิจารณาระดับความรู้ ประสบการณ์ และวิธีการเรียนรู้ที่เหมาะสม 3. ออกแบบเนื้อหาและกิจกรรม เลือกเนื้อหาที่สำคัญและตรงตามวัตถุประสงค์ จัดโครงสร้างเนื้อหาอย่างเป็นระบบ เริ่มจากเรื่องง่ายไปยาก วางแผนกิจกรรมที่มีส่วนร่วม เช่น การอภิปราย กลุ่มงาน...

ความหมายและประเภทของเงิน: คู่มือความรู้พื้นฐานทางการเงิน

ความหมายของเงิน เงินเป็นสิ่งที่ใช้เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังใช้เป็นเครื่องมือในการวัดมูลค่า สะสมมูลค่า และเป็นมาตรฐานในการชำระหนี้ ความสามารถในการทำหน้าที่เหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพทำให้เงินกลายเป็นองค์ประกอบสำคัญในการดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ คุณสมบัติของเงิน สื่อกลางในการแลกเปลี่ยน: ใช้ในการซื้อขายสินค้าและบริการได้อย่างสะดวก เครื่องมือวัดมูลค่า: สามารถกำหนดและแสดงมูลค่าของสินค้าและบริการได้อย่างชัดเจน เครื่องมือสะสมมูลค่า: สามารถเก็บรักษามูลค่าไว้เพื่อใช้ในอนาคตได้ มาตรฐานในการชำระหนี้: ใช้ในการชำระหนี้ได้ตามที่กำหนด ประเภทของเงิน เงินสามารถแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามลักษณะและการใช้งาน ได้แก่: เงินสด: เหรียญและธนบัตรที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เงินฝาก: เงินที่ฝากไว้ในธนาคารหรือสถาบันการเงิน ซึ่งสามารถถอนออกมาใช้ได้เมื่อจำเป็น เงินอิเล็กทรอนิกส์: เงินที่อยู่ในรูปแบบดิจิทัล เช่น บัตรเครดิต บัตรเดบิต หรือเงินในแอปพลิเคชันการชำระเงิน เงินตราต่างประเทศ: สกุลเงินของประเทศอื่นที่ใช้ในการทำธุรกรรมระหว่างประเทศ เงินมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและเป็นสิ่งที่ทุกคนใช้ในชีวิตประจำวัน การเข้าใจความหมายและประเภทของเงินจึงเป็นพื้นฐานที่สำคัญในการจัดการและวางแผนการเงินอย่างมีประสิทธิภาพ ประเภทของเงิน: เงินเหรียญ:...

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง?

Generative AI คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่พูดถึง? Generative AI หรือ ปัญญาประดิษฐ์เชิงกำเนิด คือ เทคโนโลยี AI ที่สามารถสร้างข้อมูลใหม่ ๆ ได้อย่างอัตโนมัติ โดยไม่ต้องมีมนุษย์เข้ามาควบคุม ตัวอย่างผลงานของ Generative AI เช่น สร้างข้อความ: เขียนบทความ แต่งกลอน...

About ครูออฟ 1255 Articles
https://www.kruaof.com