No Image

4.1.5 การสร้างงานนำเสนอมัลติมีเดีย

26 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

มัลติมีเดีย (Multimedia) คือ การนำองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผสานรวมกัน ประกอบด้วย ตัวอักษร (Text) ภาพนิ่ง (Image) ภาพเคลื่อนไหว (Animation) เสียง (Sound) และวีดีโอ (Video) โดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์ เพื่อสื่อความหมายกับผู้ใช้อย่างมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive Multimedia) และได้บรรลุตามวัตถุประสงค์การใช้งาน “นิทานเรื่องหนูน้อยหมวกแดง เมื่อแบ่งออกเป็นฉากๆจะแบ่งได้เป็นอะไรบ้าง และตัวละครในเรื่องหนูน้อยหมวกแดงมีใครบ้าง” มัลติมีเดีย (Multimedia) คือ การนำองค์ประกอบของสื่อชนิดต่าง ๆ มาผสมผ [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

การเขียนโปรแกรม (Program Coding)

25 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

การเขียนโปรแกรม (Program Coding) คือ การนำผังงานมาที่ได้ออกแบบไว้ มาเขียนสคริปต์ โดยใช้บล็อกคำสั่ง ในโปรแกรม Scratch เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ถูกต้อง และทำงานตามที่เราต้องการ “บล็อกคำสั่ง ให้ตัวละครเคลื่อนที่ ในโปรแกรม Scratch อยู่ในกลุ่มบล็อกคำสั่งใด” กลุ่มบล็อก Motion หากผังงานที่ผู้เรียนได้ออกแบบไว้ เป็น โครงสร้างแบบทำซ้ำ (Repetition Structure) ซึ่งก็คือ การทำงานของโปรแกรมวนซ้ำ สามารถใช้บล็อกคำสั่ง forever และ บล็อกคำสั่ง Repeat และถ้าการทำงานโปรแกรมเป็นการวนซ้ำแบบมีเงื่อนไข สามารถใช้บล็อกคำสั่ง re [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

อัลกอริทึม (Algorithm)

23 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

อัลกอริทึม (Algorithm) คือ แนวคิดอย่างมีเหตุผลที่ผู้เขียนโปรแกรมใช้ในการอธิบายวิธีการอย่างเป็นขั้นตอน ตามลำดับในการที่จะพัฒนาโปรแกรมนั้น ๆ เพื่อตรวจสอบขั้นตอนต่าง ๆ ในการทำงานและความถูกต้องในแต่ละขั้นตอน เป็นกระบวนการที่สามารถอธิบายออกมาเป็นขั้นตอนที่ชัดเจน เมื่อนำเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ในการเขียนอัลกอริทึม มีเครื่องมือช่วยในการเขียนอัลกอริทึม (Algorithm) ที่นิยมใช้ 3 แบบ ครอบคลุม (1) บรรยาย (narrative description) (2) รหัสลำลอง (pseudo code) และ (3) ผังงาน (flowchart)

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

ส่วนขยายคืออะไร

23 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

ส่วนขยาย (Extension) คือกลุ่มบล็อกคำสั่งต่าง ๆ ที่เพิ่มเติมขึ้นมา นอกเหนือจากกลุ่มบล็อกคำสั่งหลักทำให้สามารถเชื่อมต่อโปรเจ็กต์ Scratch กับฮาร์ดแวร์ภายนอก (เช่น LEGO WeDo หรือ micro:bit) แหล่งข้อมูลบนเว็บไซต์ (เช่น Google Translate และ Amazon Text to Speech) หรือบล็อกที่อนุญาตให้มีฟังก์ชันการทำงานขั้นสูงมากขึ้น เป็นชุดบล็อกคำสั่งที่สามารถใช้เพื่อโต้ตอบกับอุปกรณ์หรือแหล่งข้อมูลเฉพาะ ในโปรแกรม Scratch จะมีส่วนขยาย (Extension) คือ กลุ่มบล็อกคำสั่งต่าง ๆ ที่เพิ่มเติมขึ้นมา นอกเหนือจากกลุ่มบล็อกคำสั่ง [ อ่านต่อ ]

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

กลุ่มบล็อก Variable (ตัวแปร)

22 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

กลุ่มบล็อก Variable (ตัวแปร) คือ บล็อกคำสั่งที่ใช้ในการดำเนินการต่าง ๆ กับตัวแปร ทั้งตัวแปรเดี่ยว (variable) และรายการ (list) เมื่อเริ่มต้นจะมีเพียงแค่ปุ่มสำหรับใช้สร้างตัวแปร หรือรายการเท่านั้น หลังจากสร้างตัวแปร หรือรายการแล้ว บล็อกคำสั่งที่เกี่ยวข้องจึงจะปรากฎให้ใช้งานได้ บล็อกในกลุ่ม มีดังนี้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

กลุ่มบล็อก Operators (การดำเนินการ)

22 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

กลุ่มบล็อก Operators (การดำเนินการ) คือ บล็อกคำสั่งที่เป็นตัวดำเนินการต่าง ๆ ทั้งด้านคำนวณ เปรียบเทียบ และตรรกะ สำหรับใช้ร่วมกับบล็อกคำสั่งที่มีการกำหนดเงื่อนไข บล็อกในกลุ่ม มีดังนี้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

กลุ่มบล็อก Sensing (การตรวจจับ)

22 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

บล็อกการตรวจจับ (Sensing) คือ บล็อกคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบการรับรู้ต่าง ๆ เช่น การสัมผัส เสียง ระยะเวลาต่างๆ บล็อกการตรวจจับ (Sensing) มีดังนี้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

กลุ่มบล็อก Sound (เสียง)

22 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

กลุ่มบล็อก Sound (เสียง) เป็นกลุ่มที่ทำงานเกี่ยวกับการแสดงเสียงต่างๆ ของตัวละคร ซึ่งอาจเป็นแหล่งเสียงจากไฟล์ที่มีอยู่ หรือไฟล์เสียงที่บันทึกโดยเครื่องมือบันที่กเสียง (Sound Recorder) ซึ่งอยู่ในโปรแกรม Scratch ไฟล์เสียงจะมีนามสกุล .wav หรือ .mp3 ดังนี้

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
No Image

กลุ่มบล็อก Looks (รูปลักษณ์)

22 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

กลุ่มบล็อก Looks รูปลักษณ์ ใช้สำหรับการเขียนสคริปต์ เพื่อสั่งให้ตัวละคร หรือเวทีแสดงคุณสมบัติต่างๆ เช่น การสั่งตัวละครพูด การเปลี่ยนชุดตัวละคร การเปลี่ยนสีตัวละคร การเปลี่ยนขนาดตัวละคร รวมไปถึงการเปลี่ยนพื้นหลัง

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :

4.1.2 การกำหนดชุดรูปแบบ หรือ ธีม (Theme)

15 พฤศจิกายน 2023 ครูออฟ 0
ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :
Print Friendly, PDF & Email

การกำหนดชุดรูปแบบ หรือ ธีม (Theme) ในโปรแกรม Microsoft PowerPoint ใช้สำหรับจัดการเรื่องความสวยงามของงานนำเสนอ หรือ Presentation โดยจะประกอบด้วยการจัดการเรื่องหลักๆ ดังนี้
1. ฟอนต์ (Font)
2. ขนาดตัวอักษร (Font Size)
3. สี (Color)
4. พื้นหลัง (Background)
5. เลย์เอาท์ (Layout)
6. อื่น ๆ ได้แก่ Effect, Header, Footer
ประโยชน์ของธีม (Theme)
1. ช่วยทำให้งานนำเสนอ มีรูปแบบที่เป็นรูปแบบเดียวกัน (Consistency)
2. ทำให้ลดเวลาในการตกแต่งงานนำเสนอลง
3. ลดเวลาในการปรับแก้ไข เช่นเปลี่ยน โลโก้ ก็สามารถปรับแก้ได้ในครั้งเดียว

ส่งต่อให้เพื่อนอ่าน :